ข่าว:

ทดลองใช้งานบอร์ดตะลุง ที่อยู่ในขั้นตอนการกู้คืนข้อมูล เบื้องต้นมีแต่กระทู้ (ข้อความ) กำลังกู้รูปภาพ ไฟล์แนบต่าง ๆ คาดว่าจะทยอยสมบูรณ์ภายในไม่ช้า

Main Menu

คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทางฯ รพ. สงขลานครินทร์ (ม.อ.) Line@: @Pitchayanont

เริ่มโดย หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop), 11:28 น. 21 พ.ย 55

หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop)

คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง ม.อ. (สามแยกคลองเรียน ตรงข้ามร้านโกเซี๊ยะ)
เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ เวียนหัวบ้านหมุน มืนศีรษะ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย ปวดหลัง ปวดเข่า
กระเพาะ กรดไหลย้อน ท้องเสีย ท้องผูก ไข้สูง หวัด ภูมิแพ้ ไอ หอบหืด ผื่นแพ้ คัน เชื้อรา
หายใจไม่อิ่ม ใจสั่น นอนไม่หลับ ซึมเศร้า กังวล ใบรับรองแพทย์สุขภาพ ฉีดยา


แผนที่การเดินทาง
http://g.co/maps/xaquw <---คลิ๊ก google maps



http://www.pitchayanont.com หรือ
https://www.facebook.com/pitchayanontclinic

Line ID : pitchayanont

 

เวลาเปิดทำการ
จันทร์-ศุกร์ 17.00-19.30 น.
เสาร์ 9.00-11.30 น. และ 17.00-19.00 น.
อาทิตย์ 17.00-19.00 น.

โทร. 080-488-9555
คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง รพ.ม.อ. (สามแยกคลองเรียน อ.หาดใหญ่) แผนที่ https://goo.gl/wp5jbc
โรคทั่วไป โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ ฉีดยา เจาะเลือด ยาคุม ใบรับรองแพทย์สุขภาพ
กระเพาะ กรดไหลย้อน ผื่นแพ้ ลมพิษ เชื้อรา ซึมเศร้า แพนิค โทร. 080-488-9555 Line@ : @Pitchayanont
Facebook : http://www.facebook.com/pitchayanontclinic Website : http://www.pitchayanont.com

หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop)

โรคกรดไหลย้อน
หมายถึงภาวะที่กรดหรือน้ำย่อยในกระเพาะไหลย้อนมาในหลอดอาหาร ทำให้เกิดการอักเสบของหลอดอาหาร ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บหน้าอกโครงสร้างของกระเพาะอาหาร

เมื่อเรารับประทานอาหารทางปาก อาหารจะถูกเคี้ยว และกลืนเข้าหลอดอาหาร อาหาร จะถูกบีบไล่ไปยังกระเพาะอาหาร ระหว่างรอยต่อของกระเพาะอาหาร และหลอดอาหารจะมีหูรูด หรือที่เรียกว่า Sphincter ทำให้ที่ปิดมิให้อาหารหรือกรดไหลย้อนกลับไปยังหลอดอาหาร เมื่ออาหารอยู่ในกระเพาะจะมีกรดออกมาจำนวนมาก เมื่ออาหารได้รับการย่อยแล้วจะถูกการบีบไปยังลำไส้เล็ก ดังนั้นหากมีกรดไหลย้อนไปยังหลอดอาหารก็จะมีอาการเจ็บหน้าอก

โรคกรดไหลย้อนคืออะไร
คือภาวะที่กรดไหลย้อนจากกระเพาะอาหารไปยังหลอดอาหาร ทำให้เกิดอาการเจ็บแน่นหน้าอก หรือแสบหน้าอก บางครั้งอาจจะรู้สึกรสเปรี้ยว

สาเหตุของกรดไหลย้อน
- ดื่มสุรา
- อ้วน
- ตั้งครรภ์
- สูบบุหรี่
- อาหารรสเปรี้ยว เผ็ด อาหารมักดอง อาหารมัน อาหารย่อยยาก
- ทานอาหารมากจนอิ่มเกินไป
- ช้อกโกแลต กาแฟ น้ำอัดลม
- คนเครียด
- อาหารมัน ของทอด



อาการของกรดไหลย้อนทางหลอดอาหาร

- อาการปวดเสบร้อนบริเวณหน้าอก และลิ้มปี่ที่เรียกว่าร้อนใน (heart burn) บางครั้งอาจจะร้าวไปที่คอได้
- รู้สึกมีก้อนอยู่ในคอ
- กลืนลำบาก หรือกลืนแล้วเจ็บ
- เจ็บคอหรือแสบลิ้นเรื้อรัง โดยเฉพาะในตอนเช้า
- รู้สึกเหมือนมีรสขมของน้ำดี หรือมีรสเปรี้ยวของกรดในคอหรือปาก
- มีเสมหะอยู่ในคอ หรือระคอตลอดเวลา
- เรอบ่อย คลื่นไส้
- รู้สึกจุกแน่นอยู่ในหน้าอก คล้ายอาหารไม่ย่อย



อาการของกรดไหลย้อนทางกล่องเสียง และปอด

- เสียงแหบเรื้อรัง หรือแหบเฉพาะตอนเช้าหรือมีเสียงผิดปกติจากเดิม
- ไอเรื้อรัง
- ไอ หรือ รู้สึกสำลักในเวลากลางคืน
- กระแอมไอบ่อย
- อาการหอบหืดแย่ลง
- เจ็บหน้าอก
- เป็นโรคปอดอักเสบเป็นๆหายๆ

การรักษากรดไหลย้อน

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

- ลดน้ำหนักสำหรับผู้ที่มีน้ำหนักเกิน เพราะคนอ้วนจะมีความดันในช่องท้องสูงทำให้กรดไหลย้อนได้มาก
- งดบุหรี่เพราะการสูบบุหรี่จะทำให้เกิดกรดมาก และหูรูดอ่อนแรง
- ใส่เสื้อหลวมๆ
- ไม่ควรจะนอน ออกกำลังกาย หรือยกของหนักหลังออกกำลังกาย
- งดอาหารมันๆ อาหารทอด อาหารที่ปรุงด้วยหัวหอม กระเทียม มะเขือเทศ ช้อกโกแลต ถั่ว ลูกอม เนย ไข่ เผ็ด เปรี้ยว เค็มจัด
- รับประทานอาหารพออิ่ม
- หลีกเลี่ยง ชา กาแฟ น้ำอัดลม เบียร์ สุรา
- นอนหัวให้สูงประมาณ 6-10 นิ้ว โดยหนุนที่ขาเตียง ไม่ควรใช้หมอนหนุนที่ศีรษะเพราะทำให้ความดันในช่องท้องสูง
- รับประทานอาหารมื้อเล็กๆ
- ควรจะเข้านอนหรือเอนกายหลังจากรับประทานอาหารไปแล้วอย่างน้อย 3 ชั่วโมง

การรักษาด้วยยา

*** Antacids เป็นยาตัวแรกที่ใช้ สำหรับผู้ป่วยที่อาการไม่มาก
*** ใช้ยา proton pump inhibitor ซึ่งเป็นยาที่ลดกรดได้เป็นอย่างดีอาจจะใช้เวลารักษา1-3 เดือน เทื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ก็อาจจะลดยาลงได้ยาที่นิยมใช้ได้แก่ omeprazole , lansoprazole , pantoprazole , rabeprazole, และ esomeprazole
*** หลีกเลี่ยงยาบางชนิดที่ทำให้กระเพาะหลั่งกรดมาก หรือทำให้หูรูดหย่อน เช่น ยาแก้ปวด aspirin NSAID VITAMIN C

โรคแทรกซ้อน

- หลอดอาหารที่อักเสบอาจจะทำให้เกิดแผล และมีเลือดออด หรือหลอดอาหารตีบทำให้กลืนอาหารลำบาก
- อาจจะทำให้โรคปอดแย่ลง เช่นโรคหอบหืดเป็นมากขึ้น ไอเรื้อรัง ปอดอักเสบ

***จะไปพบแพทย์เมื่อไร

ผู้ป่วยส่วนใหญ่อาการจะไม่รุนแรง หากมีอาการดังต่อไปนี้ให้รีบพบแพทย์
** อาเจียนบ่อย หรือมีเลือดปน
** กลืนติด หรือกลืนลำบาก
** อุจาระสีดำ หรือมีเลือดปน
** อ่อนเพลีย ซีด
** น้ำหนักลดอย่างต่อเนื่องโดยไม่มีสาเหตุ
** รับประทานยาแล้วอาการยังไม่ดีขึ้น

ที่มา http://siamhealth.net/public_html/Disease/GI/reflux/reflux.htm#.UiNfiLzRybU
คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง รพ.ม.อ. (สามแยกคลองเรียน อ.หาดใหญ่) แผนที่ https://goo.gl/wp5jbc
โรคทั่วไป โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ ฉีดยา เจาะเลือด ยาคุม ใบรับรองแพทย์สุขภาพ
กระเพาะ กรดไหลย้อน ผื่นแพ้ ลมพิษ เชื้อรา ซึมเศร้า แพนิค โทร. 080-488-9555 Line@ : @Pitchayanont
Facebook : http://www.facebook.com/pitchayanontclinic Website : http://www.pitchayanont.com

หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop)

คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง ม.อ. (สามแยกคลองเรียน ตรงข้ามร้านโกเซี๊ยะ)
เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ เวียนหัวบ้านหมุน มืนศีรษะ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย ปวดหลัง ปวดเข่า
กระเพาะ กรดไหลย้อน ท้องเสีย ท้องผูก ไข้สูง หวัด ภูมิแพ้ ไอ หอบหืด ผื่นแพ้ คัน เชื้อรา
หายใจไม่อิ่ม ใจสั่น นอนไม่หลับ ซึมเศร้า กังวล ใบรับรองแพทย์สุขภาพ ฉีดยา


แผนที่การเดินทาง
http://g.co/maps/xaquw <---คลิ๊ก google maps



http://www.pitchayanont.com หรือ
https://www.facebook.com/pitchayanontclinic

Line ID : pitchayanont

 

เวลาเปิดทำการ
จันทร์-ศุกร์ 17.00-19.30 น.
เสาร์ 9.00-11.30 น. และ 17.00-19.00 น.
อาทิตย์ 17.00-19.00 น.

โทร. 080-488-9555
คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง รพ.ม.อ. (สามแยกคลองเรียน อ.หาดใหญ่) แผนที่ https://goo.gl/wp5jbc
โรคทั่วไป โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ ฉีดยา เจาะเลือด ยาคุม ใบรับรองแพทย์สุขภาพ
กระเพาะ กรดไหลย้อน ผื่นแพ้ ลมพิษ เชื้อรา ซึมเศร้า แพนิค โทร. 080-488-9555 Line@ : @Pitchayanont
Facebook : http://www.facebook.com/pitchayanontclinic Website : http://www.pitchayanont.com

หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop)

คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง ม.อ. (สามแยกคลองเรียน ตรงข้ามร้านโกเซี๊ยะ)
เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ เวียนหัวบ้านหมุน มืนศีรษะ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย ปวดหลัง ปวดเข่า
กระเพาะ กรดไหลย้อน ท้องเสีย ท้องผูก ไข้สูง หวัด ภูมิแพ้ ไอ หอบหืด ผื่นแพ้ คัน เชื้อรา
หายใจไม่อิ่ม ใจสั่น นอนไม่หลับ ซึมเศร้า กังวล ใบรับรองแพทย์สุขภาพ ฉีดยา


แผนที่การเดินทาง
http://g.co/maps/xaquw <---คลิ๊ก google maps



http://www.pitchayanont.com หรือ
https://www.facebook.com/pitchayanontclinic

Line ID : pitchayanont

 

เวลาเปิดทำการ
จันทร์-ศุกร์ 17.00-19.30 น.
เสาร์ 9.00-11.30 น. และ 17.00-19.00 น.
อาทิตย์ 17.00-19.00 น.

โทร. 080-488-9555
คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง รพ.ม.อ. (สามแยกคลองเรียน อ.หาดใหญ่) แผนที่ https://goo.gl/wp5jbc
โรคทั่วไป โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ ฉีดยา เจาะเลือด ยาคุม ใบรับรองแพทย์สุขภาพ
กระเพาะ กรดไหลย้อน ผื่นแพ้ ลมพิษ เชื้อรา ซึมเศร้า แพนิค โทร. 080-488-9555 Line@ : @Pitchayanont
Facebook : http://www.facebook.com/pitchayanontclinic Website : http://www.pitchayanont.com

หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop)

โรคความดันโลหิตสูง

โรคความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงทำให้เกิดโรคหัวใจ โรคไต โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคอัมพาต โรคหัวใจเป็นโรคที่มีอัตราตายสูง ดังนั้นการป้องกันความดันโลหิตสูงสามารถป้องกันอัตราการตายจากโรคหัวใจ และโรคอัมพาต โรคความดันโลหิตสูงเป็นภัยเงียบที่คุกคามชีวิตของทุกท่านเนื่องจากไม่มีอาการเตือน
ดังนั้น...การจะทราบว่าเป็นความดันโลหิตสูงจำเป็นต้องวัดความดันโลหิต



อาการของโรคความดันโลหิตสูง
   โรคความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่จะไม่มีอาการ เนื่องจากความดันโลหิตจะเพิ่มอย่างช้าๆทำให้ร่างกายโดยเฉพาะหลอดเลือดปรับตัวทันจึงไม่มีอาการ ผู้ป่วยความดันโลหิตส่วนใหญ่จะมาด้วยโรคแทรกซ้อนโดยที่ไม่รู้ว่าเป็นความดันโลหิตสูง ดังนั้นจึงแนะนำให้วัดความดันทุก 2 ปี สำหรับคนที่ความดันโลหิตปกติ อาการที่ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่พาผู้ป่วยมาโรงพยาบาล ได้แก่

ปวดศีรษะ
ผู้ป่วยมักจะมีอาการปวดศีรษะในกรณีที่ความดันขึ้นอย่างรวดเร็วหรือเกิดภาวะ Hypertensive crisis โดยทั่วไปความดันโลหิตตัวบน Systolic จะมากกว่า 190 มม ปรอท หรือ Diastolic มากกว่า 110 มม ปรอท อาการปวดศีรษะมักจะปวดมึนๆบางคนปวดตลอดวัน ปวดมากเวลาถ่ายอุจจาระ หากเป็นมากจะมีอาการคลื่นไส้อาเจียน

มึนงง Dizziness
อาการมึนงงเป็นอาการทั่วๆไปพบได้ในหลายภาวะ เช่น เครียด นอนไม่พอ ทำงานมากไป น้ำตาลในเลือดสูง แต่ก็อาจจะพบในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยมักจะบอกว่ารู้สึกไม่แจ่มใส สมองตื้อๆ

ตามัว
ในรายที่ความดันโลหิตสูงเป็นมากและมีการเปลี่ยนแปลงของจอรับภาพผู้ป่วยก็จะมีปัญหาทางสายตา

เหนื่อยง่ายหายใจหอบ
อาการหอบ เหนื่อยง่าย เวลาออกแรง เช่น เดิน วิ่ง ทำงาน มีสาเหตุมากมาย เช่น โลหิตจาง(ซีด) โรคอ้วน ความดันโลหิตสูง โรคปอด ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ โรคหัวใจ ภาวะหัวใจล้มเหลว (heart failure) แม้แต่ความวิตกกังวล หรือ โรคแพนิค ก็ทำให้เหนื่อยได้เช่นกัน
อาการเหนื่อยง่ายจากโรคหัวใจ และ ภาวะหัวใจล้มเหลวนั้น จะเหนื่อย หอบ หายใจเร็ว โดยเป็นเวลาออกแรง แต่ในรายที่เป็นรุนแรง จะเหนื่อยในขณะพัก บางรายจะเหนื่อยมากจนนอนราบไม่ได้ (นอนแล้วจะเหนื่อย ไอ) ต้องนอนศีรษะสูงหรือ นั่งหลับ

แน่นหน้าอก
อาการต่อไปนี้เข้าได้กับอาการเจ็บหน้าอกจากโรคหัวใจขาดเลือด
    เจ็บแน่นๆ อึดอัด บริเวณกลางหน้าอกส่วนใหญ่จะเป็นด้านซ้าย หรือ ทั้งสองด้าน (มักจะไม่เป็นด้านขวาด้านเดียว) บางรายจะร้าวไป ที่แขนซ้าย หรือ จุกแน่นที่คอ บางรายเจ็บบริเวณกรามคล้ายเจ็บฟัน
    อาการตามข้อ 1 เกิดขึ้นขณะออกกำลัง หรือทำงานหนัก เช่น เดินเร็วๆ รีบ หรือ ขึ้นบันได วิ่ง โกรธโมโห โดยมากมักจะไม่เกิน 10 นาที อาการดังกล่าวจะดีขึ้นเมื่อหยุดออกกำลัง
    ในบางรายที่อาการรุนแรง อาการแน่นหน้าอกอาจเกิดขึ้นในขณะพัก เช่น นั่ง หรือ นอน หรือ หลังอาหาร
    กรณีที่เกิดหลอดเลือดหัวใจอุดตัน กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน อาการจะรุนแรงมาก อาจมีอาการอื่นๆร่วมด้วย เช่น เหงื่อออก มาก เป็นลม (อาการเช่นนี้ยังพบได้ในโรคของหลอดเลือดแดงใหญ่ปริ ฉีก) หมดสติ
คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง รพ.ม.อ. (สามแยกคลองเรียน อ.หาดใหญ่) แผนที่ https://goo.gl/wp5jbc
โรคทั่วไป โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ ฉีดยา เจาะเลือด ยาคุม ใบรับรองแพทย์สุขภาพ
กระเพาะ กรดไหลย้อน ผื่นแพ้ ลมพิษ เชื้อรา ซึมเศร้า แพนิค โทร. 080-488-9555 Line@ : @Pitchayanont
Facebook : http://www.facebook.com/pitchayanontclinic Website : http://www.pitchayanont.com

หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop)

โรคกรดไหลย้อน
หมายถึงภาวะที่กรดหรือน้ำย่อยในกระเพาะไหลย้อนมาในหลอดอาหาร ทำให้เกิดการอักเสบของหลอดอาหาร ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บหน้าอกโครงสร้างของกระเพาะอาหาร

เมื่อเรารับประทานอาหารทางปาก อาหารจะถูกเคี้ยว และกลืนเข้าหลอดอาหาร อาหาร จะถูกบีบไล่ไปยังกระเพาะอาหาร ระหว่างรอยต่อของกระเพาะอาหาร และหลอดอาหารจะมีหูรูด หรือที่เรียกว่า Sphincter ทำให้ที่ปิดมิให้อาหารหรือกรดไหลย้อนกลับไปยังหลอดอาหาร เมื่ออาหารอยู่ในกระเพาะจะมีกรดออกมาจำนวนมาก เมื่ออาหารได้รับการย่อยแล้วจะถูกการบีบไปยังลำไส้เล็ก ดังนั้นหากมีกรดไหลย้อนไปยังหลอดอาหารก็จะมีอาการเจ็บหน้าอก

โรคกรดไหลย้อนคืออะไร
คือภาวะที่กรดไหลย้อนจากกระเพาะอาหารไปยังหลอดอาหาร ทำให้เกิดอาการเจ็บแน่นหน้าอก หรือแสบหน้าอก บางครั้งอาจจะรู้สึกรสเปรี้ยว

สาเหตุของกรดไหลย้อน
- ดื่มสุรา
- อ้วน
- ตั้งครรภ์
- สูบบุหรี่
- อาหารรสเปรี้ยว เผ็ด อาหารมักดอง อาหารมัน อาหารย่อยยาก
- ทานอาหารมากจนอิ่มเกินไป
- ช้อกโกแลต กาแฟ น้ำอัดลม
- คนเครียด
- อาหารมัน ของทอด



อาการของกรดไหลย้อนทางหลอดอาหาร

- อาการปวดเสบร้อนบริเวณหน้าอก และลิ้มปี่ที่เรียกว่าร้อนใน (heart burn) บางครั้งอาจจะร้าวไปที่คอได้
- รู้สึกมีก้อนอยู่ในคอ
- กลืนลำบาก หรือกลืนแล้วเจ็บ
- เจ็บคอหรือแสบลิ้นเรื้อรัง โดยเฉพาะในตอนเช้า
- รู้สึกเหมือนมีรสขมของน้ำดี หรือมีรสเปรี้ยวของกรดในคอหรือปาก
- มีเสมหะอยู่ในคอ หรือระคอตลอดเวลา
- เรอบ่อย คลื่นไส้
- รู้สึกจุกแน่นอยู่ในหน้าอก คล้ายอาหารไม่ย่อย



อาการของกรดไหลย้อนทางกล่องเสียง และปอด

- เสียงแหบเรื้อรัง หรือแหบเฉพาะตอนเช้าหรือมีเสียงผิดปกติจากเดิม
- ไอเรื้อรัง
- ไอ หรือ รู้สึกสำลักในเวลากลางคืน
- กระแอมไอบ่อย
- อาการหอบหืดแย่ลง
- เจ็บหน้าอก
- เป็นโรคปอดอักเสบเป็นๆหายๆ

การรักษากรดไหลย้อน

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

- ลดน้ำหนักสำหรับผู้ที่มีน้ำหนักเกิน เพราะคนอ้วนจะมีความดันในช่องท้องสูงทำให้กรดไหลย้อนได้มาก
- งดบุหรี่เพราะการสูบบุหรี่จะทำให้เกิดกรดมาก และหูรูดอ่อนแรง
- ใส่เสื้อหลวมๆ
- ไม่ควรจะนอน ออกกำลังกาย หรือยกของหนักหลังออกกำลังกาย
- งดอาหารมันๆ อาหารทอด อาหารที่ปรุงด้วยหัวหอม กระเทียม มะเขือเทศ ช้อกโกแลต ถั่ว ลูกอม เนย ไข่ เผ็ด เปรี้ยว เค็มจัด
- รับประทานอาหารพออิ่ม
- หลีกเลี่ยง ชา กาแฟ น้ำอัดลม เบียร์ สุรา
- นอนหัวให้สูงประมาณ 6-10 นิ้ว โดยหนุนที่ขาเตียง ไม่ควรใช้หมอนหนุนที่ศีรษะเพราะทำให้ความดันในช่องท้องสูง
- รับประทานอาหารมื้อเล็กๆ
- ควรจะเข้านอนหรือเอนกายหลังจากรับประทานอาหารไปแล้วอย่างน้อย 3 ชั่วโมง

การรักษาด้วยยา

*** Antacids เป็นยาตัวแรกที่ใช้ สำหรับผู้ป่วยที่อาการไม่มาก
*** ใช้ยา proton pump inhibitor ซึ่งเป็นยาที่ลดกรดได้เป็นอย่างดีอาจจะใช้เวลารักษา1-3 เดือน เทื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ก็อาจจะลดยาลงได้ยาที่นิยมใช้ได้แก่ omeprazole , lansoprazole , pantoprazole , rabeprazole, และ esomeprazole
*** หลีกเลี่ยงยาบางชนิดที่ทำให้กระเพาะหลั่งกรดมาก หรือทำให้หูรูดหย่อน เช่น ยาแก้ปวด aspirin NSAID VITAMIN C

โรคแทรกซ้อน

- หลอดอาหารที่อักเสบอาจจะทำให้เกิดแผล และมีเลือดออด หรือหลอดอาหารตีบทำให้กลืนอาหารลำบาก
- อาจจะทำให้โรคปอดแย่ลง เช่นโรคหอบหืดเป็นมากขึ้น ไอเรื้อรัง ปอดอักเสบ

***จะไปพบแพทย์เมื่อไร

ผู้ป่วยส่วนใหญ่อาการจะไม่รุนแรง หากมีอาการดังต่อไปนี้ให้รีบพบแพทย์
** อาเจียนบ่อย หรือมีเลือดปน
** กลืนติด หรือกลืนลำบาก
** อุจาระสีดำ หรือมีเลือดปน
** อ่อนเพลีย ซีด
** น้ำหนักลดอย่างต่อเนื่องโดยไม่มีสาเหตุ
** รับประทานยาแล้วอาการยังไม่ดีขึ้น

ที่มา http://siamhealth.net/public_html/Disease/GI/reflux/reflux.htm#.UiNfiLzRybU
คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง รพ.ม.อ. (สามแยกคลองเรียน อ.หาดใหญ่) แผนที่ https://goo.gl/wp5jbc
โรคทั่วไป โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ ฉีดยา เจาะเลือด ยาคุม ใบรับรองแพทย์สุขภาพ
กระเพาะ กรดไหลย้อน ผื่นแพ้ ลมพิษ เชื้อรา ซึมเศร้า แพนิค โทร. 080-488-9555 Line@ : @Pitchayanont
Facebook : http://www.facebook.com/pitchayanontclinic Website : http://www.pitchayanont.com

หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop)

โรคงูสวัด (Herpes zoster)

โรคงูสวัดเป็นโรคผิวหนังเกิดจากกลับติดเชื้อซ้ำของเชื้องูสวัดที่เรียกว่า varicella-zoster virus (VZV) ซึ่งเป็นเชื้อที่อยู่ในร่างกายทำให้เกิดตุ่มพองที่ผิวหนัง ปวดแสบร้อนมาก

สาเหตุโรคงูสวัด

งูสวัดเป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อไวรัสที่เรียกว่า Hepes Varicella Zoster เป็นชนิดเดียวกับที่ทำให้เกิดโรคไข้สุกใส ผู้ที่เป็นโรคไข้สุกใสมาก่อนจะยังคงมีเชื้อไวรัสนี้ที่ปมประสาทสันหลัง ซึ่งเมื่อร่างกายอ่อนแอเชื้อสามารถสร้างเพิ่มจำนวน ทำให้เกิดโรคงูสวัดได้ แต่จะเกิดเฉพาะแนวประสาท ไม่ลุกลามกระจายออกไปเพราะร่างกายมีภูมิต้านทานต่อเชื้ออยู่แล้ว แนวเส้นประสาทที่พบบ่อยได้แก่ บริเวณเอว ก้นกบ ตา ใบหน้า ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันอ่อนแอลง เช่น ผู้สูงอายุ หรือจากโรคเช่น เอดส์ การรับประทานยา steroid จะมีโอกาสที่จะเกิดโรคงูสวัดสูง

ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคงูสวัด

จากการสำรวจพบว่าผู้ใหญ่ร้อยละ 90 จะมีภูมิต่อเชื้องูสวัด ดังนั้นกลุมคนเหล่านี้ จะมีความเสี่ยงต่อการเป็นงูสวัดประมาณ 1.5-3 ต่อประชากร 1000 คน ผู้ที่อายุมาก มะเร็ง หรือผู้ที่ได้รับยากดภูมิ ผู้ที่เปลี่ยนถ่ายอวัยวะ ผู้ป่วยเหล่านี้จะเสี่ยงต่อการเกิดโรคงูสวัด

ตำแหน่งที่เกิดโรคงูสวัด

พบว่าตำแหน่งที่เกิดโรคงูสวัดพบได้บ่อย 3 ตำแหน่งได้แก่

- ตามแนวเส้นประสาทไขสันหลัง ระหว่างรากประสาททรวงอกเส้นที่ 3 ถึงระดับเอวข้อที่ 3
- ตามแนวเส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 อาจจะทำให้เกิดตาบอด เรียก Zoster ophthalmicus



- ตามเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 ทำให้มีอาการปากเบี้ยวครึ่งซีก เรียก Ramsay Hunt syndrome

อาการโรคงูสวัด

- อาการปวดตามตัวก่อนมีผื่น 2-3 วัน
- มักจะไม่มีไข้อาจจะมีไข้ต่ำๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว ปวดศีรษะ
- ต่อมาจะมีอาการทางผิวหนัง อาจจะแค่คันผิวหนัง บางคนปวดแสบปวดร้อน บางคนเสียวที่ผิวหนัง สำหรับคนที่เป็นที่ใบหน้าจะมีอาการปวดศีรษะ เห็นแสงจ้าไม่ได้



- ต่อมาอีก 1-5 วันจะมีผื่นแดงอยู่เป็นกลุ่ม ต่อมาเป็นตุมน้ำใส มักจะขึ้นอยู่ซีกใดซีกหนึ่งของร่างกาย ตามเส้นประสาทที่เป็นโรค ตุ่มน้ำใสจะคงอยู่ประมาณ5 วันต่อมาผื่นจะตกสะเก็ดและหายไปใน2-3สัปดาห์ และอาจจะทิ้งรอยแผลเป็น ผู้ป่วยที่มีภูมิอ่อนแรงเช่น โรคมะเร็ง โรคเอดส์ ผู้ที่ได้รับยากดภูมิ จะเป็นโรคนี้ได้บ่อย และเป็นรุนแรง

ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคงูสวัด

- เคยเป็นโรคไข้สุกใสมาก่อน
- อายุมาก
- เป็นโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง
- มีความเครียดทางอารมณ์
- ได้รับอุบัติเหตุ

การวินิจฉัยโรคงูสวัด

- ทำได้จากประวัติการเจ็บป่วย ลักษณะของผื่น แต่ผู้ป่วยบางคนลักษณะผื่น และตำแหน่งไม่เหมือนงูสวัดจึงจำเป็นต้องตรวจวินิจฉัยเพิ่ม ได้แก่การเพาะเชื้อไวรัส การย้อมด้วยวิธี Direct immunofluorescence assay
- Tzanck smear นำเอาน้ำที่ก้นแผลมาย้อมจะพบเซลล์ตัวใหญ่ผิดปรกติ


การรักษา

- หากมีอาการปวดให้ใช้ยาแก้ปวด เช่น NSAIDs, Aspirin
- การให้ยารับประทานควรจะให้ภายใน 72 ชั่วโมงหลังเกิดผื่นซึ่งจะทำให้ผื่นหายเร็ว ลดอาการเจ็บปวด และจำนวนเชื้อในตุ่ม ยาที่ไช้ ได้แก่ Acyclovir 800 mg วันละ 5 ครั้งเป็นเวลา70-10 วัน
- การใช้ยาทายังไม่ได้รับการยอมรับ
- การใช้ยา steroid มีรายงานว่าการให้ยา steroid ร่วมกับยาต้านไวรัสจะทำให้แผลหายเร็ว และอาการเจ็บปวด แต่ไม่แนะนำให้ steroid เพียงอย่างเดียว
- มีวัคซีนที่ใช้ฉีดเพื่อป้องกันงูสวัส โดยจะฉีดในคนที่เคยเป็นไข้สุกใสแล้ว อายุมากกว่า 60 ปีพบว่าสามารถลดการเกิดงุสวัสได้ร้อยละ 50 และลดอาการปวด


โรคแทรกซ้อนที่สำคัญของงูสวัด

- มีอาการปวดเส้นประสาท Postherpetic neuralgia ซึ่งเป็นโรคแทรกซ้อนที่พบบ่อยที่สุด
- งูสวัดเข้าตาซึ่งอาจจะทำให้ตาบอด
- ปากเบี้ยว

Ref. http://www.siamhealth.net/public_html/Health/Photo_teaching/herpes_zoster.htm#.Ujs0rrzRybU
คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง รพ.ม.อ. (สามแยกคลองเรียน อ.หาดใหญ่) แผนที่ https://goo.gl/wp5jbc
โรคทั่วไป โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ ฉีดยา เจาะเลือด ยาคุม ใบรับรองแพทย์สุขภาพ
กระเพาะ กรดไหลย้อน ผื่นแพ้ ลมพิษ เชื้อรา ซึมเศร้า แพนิค โทร. 080-488-9555 Line@ : @Pitchayanont
Facebook : http://www.facebook.com/pitchayanontclinic Website : http://www.pitchayanont.com

หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop)

โรคหนองในแท้ Gonorrhea

เป็นโรคที่ติดต่อทางเพศสัมพันธ์จากเชื้อแบคทีเรียชื่อ Neisseria gonorrhoea เชื้อนี้จะทำให้เกิดโรคเฉพาะเยื่อเมือก mucous membrance เช่น

- เยื่อเมือกในท่อปัสสาวะ ช่องคลอด ปากมดลูก และเยื่อบุมดลูก
- ท่อรังไข่
- ทวารหนัก
- เยื่อบุตา
- คอ

โรคนี้ติดต่ออย่างไร

- โรคนี้ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ไม่ว่าจะทางปาก ช่องคลอดหรือทางทวาร
- การร่วมเพศทางปากจะทำให้เชื้อสามารถติดต่อจากปากไปอวัยวะเพศ หรือจากอวัยวะเพศไปยังปาก
- หากช่องคลอดหรืออวัยวะดังกล่าวปนเปื้อนหนองที่มีเชื้อ ก็สามารถติดเชื้อนี้ได้โดยที่ไม่จำเป็นต้องมีการร่วมเพศ
- หากคุณมีคู่ขามากเท่าใดคุณก็จะมีโอกาสติดเชื้อนี้เพิ่มขึ้น
- การจับมือหรือการนั่งฝาโถส้วมไม่ทำให้เกิดการติดเชื้อ

อาการของโรคนี้เป็นอย่างไร

- ผู้ชายมักจะเกิดอาการหลังจากได้รับเชื้อไปแล้ว 2-5 วันอาการเริ่มจะมีอาการระคายเคืองท่อปัสสาวะ หลังจากนั้นจะมีอาการปวดแสบเวลาปัสสาวะ แล้วจึงตามด้วยอาการมีหนองสีเหลืองไหลออกจากท่อปัสสาวะ
- ส่วนผู้หญิงส่วนใหญ่จะไม่มีอาการ หากจะมีอาการมักจะเกิดใน 10 วัน
- อาการของโรคจะเหมือนกับการติดเชื้อ chlamydia
- การติดเชื้อที่คออาจจะไม่มีอาการ หรืออาจจะมีอาการเจ็บคอ ไข้
- หากติดเชื้อทีตาจะมีหนองไหลและเคืองตา conjunctivitis

>>>>>>ผู้ชาย<<<<<

- อาจจะไม่มีอาการ
- มีหนองสีเหลืองไหลออกจากอวัยวะเพศ
- ปัสสาวะขัด
- อัณฑะบวม หรือมีการอักเสบ

>>>>>>ผู้หญิง<<<<<

- ผู้หญิงที่ได้รับเชื้อนี้จะมีอาการช้ากว่าผู้ชายโดยเฉลี่ยจะเกิดอาการหลังได้รับเชื้อแล้ว 1-3 สัปดาห์ อาการที่พบไม่มากจนกระทั่งผู้ป่วยไม่ให้ความสนใจ
- จะสงสัยว่าเป็นโรคนี้เมื่อคนที่ร่วมเพศด้วยป่วยเป็นโรคนี้
- ตกขาวหรือเลือดผิดปกติ
- ปัสสาวะขัด

การวินิจฉัย

เราสามารถรู้ว่าเป็นโรคหนองในแท้หรือไม่โดยการตรวจ
- นำหนองหรือปัสสาวะมาตรวจ PCR
- นำหนองมาย้อมหาเชื้อ
- นำหนองไปเพาะเชื้อ
- ข้อสำคัญคือท่านอาจจะต้องตรวจหาโรคที่ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ชนิดอื่นร่วมด้วย

การรักษา

เนื่องจากผู้ที่ป่วยเป็นโรคหนองในแท้มักจะมีหนองในเทียมร่วมด้วยเสมอดังนั้นจึงต้องรักษาพร้อมกันทั้งสองโรค

- ยาในกลุ่ม Cephalosporin ได้แก่ Cefixime 400 mg ประทานครั้งเดียว หรือ Ceftriaxone 250 mg ฉีดครั้งเดียว
- ยาในกลุ่ม Quinolone ได้แก่ Ciprofloxacin 500 mg รับประทานครั้งเดียว หรือ Ofloxacin 400 mg รับประทานครั้งเดียว หรือ Levofloxacin รับประทานครั้งเดียว
- หากแพ้ยาดังกล่าวอาจจะให้ spectinomycin
- การรักษาหนองในแท้มักจะรักษาหนองในเทียมร่วมด้วยโดยการให้ doxycycline 1 เม็ดเช้าเย็นเป็นเวลา 7 วัน
- คนท้องต้องปรึกษาแพทย์
- เนื่องจากเชื้อมีการดื้อยามากขึ้นท่านต้องรับประทานยาให้ครบ และตรวจซ้ำตามที่แพทย์แนะนำและต้องพาคู่ของท่านไปตรวจรักษาด้วย

การป้องกันติดโรคนี้

- การป้องกันที่ดีที่สุดคือการงดมีเพศสัมพันธ์
- มีสามีหรือภรรยาคนเดียว
- สวมถุงยางอนามัยหากมีเพศสัมพันธ์กับคนที่ไม่แน่ใจว่าจะมีโรคติดต่อหรือไม่

โรคแทรกซ้อนที่สำคัญ

>>>>>>ผู้ชาย<<<<<

- ต่อมลูกหมากอักเสบ
- อัณฑะอักเสบ
- ท่อปัสสาวะตีบ ทำให้ปัสสาวะไม่ออก
- เป็นหมัน

>>>>>>ผู้หญิง<<<<<

- อุ้งเชิงกรานอักเสบ
- ปวดประจำเดือน
- แท้ง
- กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
- ปากมดลูกอักเสบ
- เด็กที่เกิดในขณะที่แม่เป็นโรคนี้อาจจะมีการอักเสบของตา ข้ออักเสบ เชื้อเข้ากระแสโลหิต
คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง รพ.ม.อ. (สามแยกคลองเรียน อ.หาดใหญ่) แผนที่ https://goo.gl/wp5jbc
โรคทั่วไป โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ ฉีดยา เจาะเลือด ยาคุม ใบรับรองแพทย์สุขภาพ
กระเพาะ กรดไหลย้อน ผื่นแพ้ ลมพิษ เชื้อรา ซึมเศร้า แพนิค โทร. 080-488-9555 Line@ : @Pitchayanont
Facebook : http://www.facebook.com/pitchayanontclinic Website : http://www.pitchayanont.com

หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop)

คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง ม.อ. (สามแยกคลองเรียน ตรงข้ามร้านโกเซี๊ยะ)
เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ เวียนหัวบ้านหมุน มืนศีรษะ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย ปวดหลัง ปวดเข่า
กระเพาะ กรดไหลย้อน ท้องเสีย ท้องผูก ไข้สูง หวัด ภูมิแพ้ ไอ หอบหืด ผื่นแพ้ คัน เชื้อรา
หายใจไม่อิ่ม ใจสั่น นอนไม่หลับ ซึมเศร้า กังวล ใบรับรองแพทย์สุขภาพ ฉีดยา


แผนที่การเดินทาง
http://g.co/maps/xaquw <---คลิ๊ก google maps



http://www.pitchayanont.com หรือ
https://www.facebook.com/pitchayanontclinic

Line ID : pitchayanont

 

เวลาเปิดทำการ
จันทร์-ศุกร์ 17.00-19.30 น.
เสาร์ 9.00-11.30 น. และ 17.00-19.00 น.
อาทิตย์ 17.00-19.00 น.

โทร. 080-488-9555
คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง รพ.ม.อ. (สามแยกคลองเรียน อ.หาดใหญ่) แผนที่ https://goo.gl/wp5jbc
โรคทั่วไป โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ ฉีดยา เจาะเลือด ยาคุม ใบรับรองแพทย์สุขภาพ
กระเพาะ กรดไหลย้อน ผื่นแพ้ ลมพิษ เชื้อรา ซึมเศร้า แพนิค โทร. 080-488-9555 Line@ : @Pitchayanont
Facebook : http://www.facebook.com/pitchayanontclinic Website : http://www.pitchayanont.com

หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop)

โรคกรดไหลย้อน
หมายถึงภาวะที่กรดหรือน้ำย่อยในกระเพาะไหลย้อนมาในหลอดอาหาร ทำให้เกิดการอักเสบของหลอดอาหาร ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บหน้าอกโครงสร้างของกระเพาะอาหาร

เมื่อเรารับประทานอาหารทางปาก อาหารจะถูกเคี้ยว และกลืนเข้าหลอดอาหาร อาหาร จะถูกบีบไล่ไปยังกระเพาะอาหาร ระหว่างรอยต่อของกระเพาะอาหาร และหลอดอาหารจะมีหูรูด หรือที่เรียกว่า Sphincter ทำให้ที่ปิดมิให้อาหารหรือกรดไหลย้อนกลับไปยังหลอดอาหาร เมื่ออาหารอยู่ในกระเพาะจะมีกรดออกมาจำนวนมาก เมื่ออาหารได้รับการย่อยแล้วจะถูกการบีบไปยังลำไส้เล็ก ดังนั้นหากมีกรดไหลย้อนไปยังหลอดอาหารก็จะมีอาการเจ็บหน้าอก

โรคกรดไหลย้อนคืออะไร
คือภาวะที่กรดไหลย้อนจากกระเพาะอาหารไปยังหลอดอาหาร ทำให้เกิดอาการเจ็บแน่นหน้าอก หรือแสบหน้าอก บางครั้งอาจจะรู้สึกรสเปรี้ยว

สาเหตุของกรดไหลย้อน
- ดื่มสุรา
- อ้วน
- ตั้งครรภ์
- สูบบุหรี่
- อาหารรสเปรี้ยว เผ็ด อาหารมักดอง อาหารมัน อาหารย่อยยาก
- ทานอาหารมากจนอิ่มเกินไป
- ช้อกโกแลต กาแฟ น้ำอัดลม
- คนเครียด
- อาหารมัน ของทอด



อาการของกรดไหลย้อนทางหลอดอาหาร

- อาการปวดเสบร้อนบริเวณหน้าอก และลิ้มปี่ที่เรียกว่าร้อนใน (heart burn) บางครั้งอาจจะร้าวไปที่คอได้
- รู้สึกมีก้อนอยู่ในคอ
- กลืนลำบาก หรือกลืนแล้วเจ็บ
- เจ็บคอหรือแสบลิ้นเรื้อรัง โดยเฉพาะในตอนเช้า
- รู้สึกเหมือนมีรสขมของน้ำดี หรือมีรสเปรี้ยวของกรดในคอหรือปาก
- มีเสมหะอยู่ในคอ หรือระคอตลอดเวลา
- เรอบ่อย คลื่นไส้
- รู้สึกจุกแน่นอยู่ในหน้าอก คล้ายอาหารไม่ย่อย



อาการของกรดไหลย้อนทางกล่องเสียง และปอด

- เสียงแหบเรื้อรัง หรือแหบเฉพาะตอนเช้าหรือมีเสียงผิดปกติจากเดิม
- ไอเรื้อรัง
- ไอ หรือ รู้สึกสำลักในเวลากลางคืน
- กระแอมไอบ่อย
- อาการหอบหืดแย่ลง
- เจ็บหน้าอก
- เป็นโรคปอดอักเสบเป็นๆหายๆ

การรักษากรดไหลย้อน

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

- ลดน้ำหนักสำหรับผู้ที่มีน้ำหนักเกิน เพราะคนอ้วนจะมีความดันในช่องท้องสูงทำให้กรดไหลย้อนได้มาก
- งดบุหรี่เพราะการสูบบุหรี่จะทำให้เกิดกรดมาก และหูรูดอ่อนแรง
- ใส่เสื้อหลวมๆ
- ไม่ควรจะนอน ออกกำลังกาย หรือยกของหนักหลังออกกำลังกาย
- งดอาหารมันๆ อาหารทอด อาหารที่ปรุงด้วยหัวหอม กระเทียม มะเขือเทศ ช้อกโกแลต ถั่ว ลูกอม เนย ไข่ เผ็ด เปรี้ยว เค็มจัด
- รับประทานอาหารพออิ่ม
- หลีกเลี่ยง ชา กาแฟ น้ำอัดลม เบียร์ สุรา
- นอนหัวให้สูงประมาณ 6-10 นิ้ว โดยหนุนที่ขาเตียง ไม่ควรใช้หมอนหนุนที่ศีรษะเพราะทำให้ความดันในช่องท้องสูง
- รับประทานอาหารมื้อเล็กๆ
- ควรจะเข้านอนหรือเอนกายหลังจากรับประทานอาหารไปแล้วอย่างน้อย 3 ชั่วโมง

การรักษาด้วยยา

*** Antacids เป็นยาตัวแรกที่ใช้ สำหรับผู้ป่วยที่อาการไม่มาก
*** ใช้ยา proton pump inhibitor ซึ่งเป็นยาที่ลดกรดได้เป็นอย่างดีอาจจะใช้เวลารักษา1-3 เดือน เทื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ก็อาจจะลดยาลงได้ยาที่นิยมใช้ได้แก่ omeprazole , lansoprazole , pantoprazole , rabeprazole, และ esomeprazole
*** หลีกเลี่ยงยาบางชนิดที่ทำให้กระเพาะหลั่งกรดมาก หรือทำให้หูรูดหย่อน เช่น ยาแก้ปวด aspirin NSAID VITAMIN C

โรคแทรกซ้อน

- หลอดอาหารที่อักเสบอาจจะทำให้เกิดแผล และมีเลือดออด หรือหลอดอาหารตีบทำให้กลืนอาหารลำบาก
- อาจจะทำให้โรคปอดแย่ลง เช่นโรคหอบหืดเป็นมากขึ้น ไอเรื้อรัง ปอดอักเสบ

***จะไปพบแพทย์เมื่อไร

ผู้ป่วยส่วนใหญ่อาการจะไม่รุนแรง หากมีอาการดังต่อไปนี้ให้รีบพบแพทย์
** อาเจียนบ่อย หรือมีเลือดปน
** กลืนติด หรือกลืนลำบาก
** อุจาระสีดำ หรือมีเลือดปน
** อ่อนเพลีย ซีด
** น้ำหนักลดอย่างต่อเนื่องโดยไม่มีสาเหตุ
** รับประทานยาแล้วอาการยังไม่ดีขึ้น

ที่มา http://siamhealth.net/public_html/Disease/GI/reflux/reflux.htm#.UiNfiLzRybU
คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง รพ.ม.อ. (สามแยกคลองเรียน อ.หาดใหญ่) แผนที่ https://goo.gl/wp5jbc
โรคทั่วไป โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ ฉีดยา เจาะเลือด ยาคุม ใบรับรองแพทย์สุขภาพ
กระเพาะ กรดไหลย้อน ผื่นแพ้ ลมพิษ เชื้อรา ซึมเศร้า แพนิค โทร. 080-488-9555 Line@ : @Pitchayanont
Facebook : http://www.facebook.com/pitchayanontclinic Website : http://www.pitchayanont.com

หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop)

โรคแพนิค (Panic Disorder)

         โรคแพนิค เป็นโรคชนิดหนึ่ง มีคนเป็นกันมากแต่คนทั่วไปมักไม่ค่อยรู้จัก และยังไม่มีชื่อทางการในภาษาไทย บางคนอาจเรียกว่า "หัวใจอ่อน" หรือ "ประสาทลงหัวใจ" แต่จริงๆ แล้วโรคนี้ไม่มีปัญหาที่หัวใจและไม่อันตราย เวลามีอาการผู้ป่วยจะรู้สึกใจสั่น หัวใจเต้นแรง อึดอัด แน่นหน้าอก หายใจไม่ทันหรือหายไม่เต็มอิ่ม ขาสั่น มือสั่น มือเท้าเย็น วิงเวียนหรือมึนศีรษะ ท้องไส้ปั่นป่วน ผู้ป่วยมักจะรู้สึกกลัวว่าจะขาดใจ จะช๊อคหรือจะตาย

         ส่วนใหญ่ผู้ป่วยโรคแพนิคจะกลัวว่าตัวเองกำลังจะตาย กลัวเป็นโรคหัวใจ บางคนกลัวว่าตนกำลังจะเสียสติหรือเป็นบ้า อาการต่างๆ มักเกิดขึ้นทันทีและค่อยๆ รุนแรงขึ้น จนเต็มที่ใน 10 นาที คงอยู่สักระยะหนึ่ง แล้วค่อยๆ ทุเลาลง อาการมักจะหายหรือเกือบหายในครึ่งชั่วโมง หลังอาการแพนิคหาย ผู้ป่วยมักจะเพลีย และในช่วงที่ไม่มีอาการผู้ป่วยมักกังวลกลัวว่าจะเป็นอีก

         อาการโรคแพนิค จะเกิดที่ไหนเมื่อไรก็ได้และคาดเดาได้ยาก แต่ผู้ป่วยมักพยายามสังเกตุและเชื่อมโยงหาเหตุที่กระตุ้นให้เกิดอาการ เพื่อที่ตนจะได้หลีกเลี่ยง และรู้สึกว่าสามารถควบคุมมันได้บ้าง เช่น บางรายเกิดอาการขณะขับรถก็จะไม่กล้าขับรถ บางรายเกิดอาการขณะกำลังเดินข้ามสะพานลอยก็จะไม่กล้าขึ้นสะพานลอย บางรายไม่กล้าไปไหนคนเดียวหรือไม่กล้าอยู่คนเดียว เพราะกลัวว่าถ้าเกิดอาการขึ้นมาอีกจะไม่มีใครช่วย ในบางรายอาจมีเหตุกระตุ้นจริงๆบางอย่างได้ เช่น การออกกำลังหนักๆ หรือเครื่องดื่มที่มีสารคาเฟอีน เช่น กาแฟ ชา น้ำอัดลม กรณีนี้ควรหลีกเลี่ยงสิ่งต่างๆ เหล่านี้

         ขณะเกิดอาการ ผู้ป่วยโรคแพนิค มักกลัวและรีบไปโรงพยาบาล ซึ่งแพทย์ที่ห้องฉุกเฉินมักตรวจไม่พบความผิดปกติ และมักได้รับการสรุปว่าเป็นอาการเครียดหรือคิดมาก ซึ่งผู้ป่วยก็มักไม่ยอมรับและปฏิเสธว่าไม่ได้เครียด เมื่อเกิดอาการอีกในครั้งต่อมา ผู้ป่วยก็จะไปโรงพยาบาลอื่นและมักได้คำตอบแบบเดียวกัน ผู้ป่วยโรคแพนิคหลายๆ รายไปปรึกษาแพทย์เพื่อเช็คสุขภาพ โดยเฉพาะหัวใจซึ่งก็มักได้รับการตรวจเช็คร่างกายอย่างละเอียด และไม่พบความผิดปกติอะไรที่สามารถอธิบายอาการดังกล่าวได้ ยิ่งทำให้ผู้ป่วยกังวลมากขึ้น

           อาการต่างๆ ที่เกิดขึ้นเรียกว่า อาการแพนิค (Panic Attack) แปลว่า "ตื่นตระหนก" เราจะสังเกตุได้ว่าอาการต่างๆ จะคล้ายกับอาการของคนที่กำลังตื่นตระหนก ในโรคแพนิค ผู้ป่วยจะเกิดอาการแพนิคนี้ขึ้นมาเอง โดยไม่มีเหตุกระตุ้น และคาดเดาไม่ถูกว่าเมื่อไรจะเป็นเมื่อไรจะไม่เป็นการไม่รู้ว่าตนกำลังเป็นอะไรจะยิ่งเพิ่มความตื่นตระหนกให้รุนแรงขึ้น

          อาการแพนิคไม่มีอันตรายทำให้เกิดความไม่สบายเท่านั้น สังเกตุได้จากการที่ผู้ป่วยมักจะมีอาการมานาน บางคนเป็นมาหลายปี เกิดอาการแพนิคมาเป็นร้อยครั้ง แต่ก็ไม่เห็นเป็นอะไรสักที บางคนเป็นทีไรต้องรีบไปโรงพยาบาล "แทบไม่ทัน" แต่ไม่ว่ารถจะติดอย่างไรก็ไป "ทัน" ทุกครั้ง เพราะอาการแพนิคไม่มีอันตราย

ในปัจจุบันเราพอจะทราบว่าผู้ป่วยโรคแพนิคมีปัญหาในการทำงานของสมองส่วนที่ทำให้เกิดอาการ "ตื่นตระหนก" โดยเป็น ความผิดปกติของสารสื่อนำประสาท บางอย่างเราจึงสามารถรักษาโรคนี้ได้ด้วยยา ยาที่ใช้รักษา โรคแพนิค จะมี 2 กลุ่ม คือ
       
          1. ยาป้องกัน เป็นยาที่ออกฤทธิ์ช้า ปรับยาครั้งหนึ่งต้องรอ 2-3 สัปดาห์ จึงจะเริ่มเห็นผลคืออาการแพนิคจะห่างลง และเมื่อเป็นขึ้นมาอาการก็จะเบาลงด้วย เมื่อยาออกฤทธิ์เต็มที่ผู้ป่วยจะไม่มีอาการแพนิคเกิดขึ้นเลย ยากลุ่มนี้จะเป็นยาที่ใช้รักษาโรคซึมเศร้าบางตัว เช่น เล็กซาโปร (lexapro) โปรแซก (prozac) โซลอฟ (zoloft) ยากลุ่มนี้ไม่ทำให้เกิดการติดยาและสามารถหยุดยาได้เมื่อโรคหาย ในการรักษาด้วยยาเราจะจ่ายทั้งยาป้องกันและยาแก้

         เพราะในช่วงแรก ๆ ยาป้องกันยังออกฤทธิ์ไม่เต็มที่ ผู้ป่วยจะยังมีอาการจึงยังต้องใช้ยาแก้อยู่ เมื่อยาป้องกันเริ่มออกฤทธิ์ผู้ป่วยจะกินยาแก้น้อยลงเอง แพทย์จะค่อยๆเพิ่มยาป้องกันจนผู้ป่วย "หายสนิท" คือไม่มีอาการเลย แล้วให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อไปเป็นเวลา 8-12 เดือน หลังจากนั้นจะให้ผู้ป่วยค่อยๆ หยุดยา ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะสามารถหยุดยาได้โดยไม่มีอาการกลับมาอีก แต่ก็มีบางรายที่มีอาการอีกเมื่อลดยาลง ในกรณีแบบนี้เราจะเพิ่มยากลับขึ้นไปใหม่แล้วค่อย ๆ ลดยาลงช้า ๆ
       
         2. ยาแก้ เป็นยาที่ออกฤทธิ์เร็ว ใช้เฉพาะเมื่อเกิดอาการขึ้นมา เป็นทีกินที กินแล้วหายเร็ว ได้แก่ยาที่คนทั่วไปรู้จักกันในนามของยา "กล่อมประสาท" หรือยา "คลายกังวล" เช่น แวเลี่ยม (valium) แซแนก (xanax) อะติแวน (ativan) ยาประเภทนี้มีความปลอดภัยสูง (แปลว่าไม่มีพิษ ไม่ทำลายตับ ไม่ทำลายไต) แต่ถ้ารับประทาน ติดต่อกันนานๆ (2-3 สัปดาห์ขึ้นไป) จะเกิดการติดยาและเลิกยากและเมื่อหยุดยากระทันหันจะเกิดอาการขาดยา ซึ่งจะมีอาการเหมือนอาการแพนิค ทำให้แยกแยะไม่ได้ว่าหายหรือยัง ดังนั้นแพทย์จะเน้นกับผู้ป่วยว่าให้กินเฉพาะเมื่อมีอาการเท่านั้น ยังไม่เป็นห้ามกิน รอให้เริ่มมีอาการแล้วค่อยกินก็ทันเพราะมันออกฤทธิ์เร็ว

เกณฑ์การการวินิจฉัย และอาการของโรคแพนิค

1.อาการต่างๆเกิดขึ้นเองโดยไม่มีสาเหตุ

2.ขณะที่เป็นจะต้องมีอาการต่อไปนี้อย่างน้อย 4 อย่าง ดังนี้ ต้องมีอาการอย่างน้อย 4 ครั้ง หรือถ้าน้อยกว่าจะต้องมีความรู้สึกกังวลหรือกลัวว่าจะเป็นๆ เป็นเดือน

    ใจสั่นหรือหัวใจเต้นเร็วผิดปกติ

    เหงื่อแตก

    ตัวสั่น

    รู้สึกหายใจไม่อิ่มหรือไม่ออก

    เจ็บหรือแน่นหน้าอก,คลื่นไส้ มวนในท้อง

    มึนงง โคลงเคลง วูบ คล้ายจะเป็นลม

    มีความรู้สึกกึ่งฝันและรู้สึกว่าตัวเองเปลี่ยนไป

    กลัวควบคุมตัวเองไม่ได้ กลัวจะเป็นบ้า

    กลัวจะตายในขณะนั้น

    ชาตามตัว แขนขาหรือเสียว

    หนาวหรือสั่น หรือสะบัดร้อนหรือหนาว

3.อาการต่างๆจะต้องเกิดขึ้นจนเต็มที่ภายใน 10 นาที แล้วค่อยดีขึ้นมาเอง

ที่สำคัญควรพบแพทย์เพื่อแยกโรคร้ายแรงออกไปก่อน เช่น โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หัวใจเต้นผิดจังหวะ
คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง รพ.ม.อ. (สามแยกคลองเรียน อ.หาดใหญ่) แผนที่ https://goo.gl/wp5jbc
โรคทั่วไป โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ ฉีดยา เจาะเลือด ยาคุม ใบรับรองแพทย์สุขภาพ
กระเพาะ กรดไหลย้อน ผื่นแพ้ ลมพิษ เชื้อรา ซึมเศร้า แพนิค โทร. 080-488-9555 Line@ : @Pitchayanont
Facebook : http://www.facebook.com/pitchayanontclinic Website : http://www.pitchayanont.com

หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop)

คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง ม.อ. (สามแยกคลองเรียน ตรงข้ามร้านโกเซี๊ยะ)
เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ เวียนหัวบ้านหมุน มืนศีรษะ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย ปวดหลัง ปวดเข่า
กระเพาะ กรดไหลย้อน ท้องเสีย ท้องผูก ไข้สูง หวัด ภูมิแพ้ ไอ หอบหืด ผื่นแพ้ คัน เชื้อรา
หายใจไม่อิ่ม ใจสั่น นอนไม่หลับ ซึมเศร้า กังวล ใบรับรองแพทย์สุขภาพ ฉีดยา


แผนที่การเดินทาง
http://g.co/maps/xaquw <---คลิ๊ก google maps



http://www.pitchayanont.com หรือ
https://www.facebook.com/pitchayanontclinic

Line ID : pitchayanont

 

เวลาเปิดทำการ
จันทร์-ศุกร์ 17.00-19.30 น.
เสาร์ 9.00-11.30 น. และ 17.00-19.00 น.
อาทิตย์ 17.00-19.00 น.

โทร. 080-488-9555
คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง รพ.ม.อ. (สามแยกคลองเรียน อ.หาดใหญ่) แผนที่ https://goo.gl/wp5jbc
โรคทั่วไป โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ ฉีดยา เจาะเลือด ยาคุม ใบรับรองแพทย์สุขภาพ
กระเพาะ กรดไหลย้อน ผื่นแพ้ ลมพิษ เชื้อรา ซึมเศร้า แพนิค โทร. 080-488-9555 Line@ : @Pitchayanont
Facebook : http://www.facebook.com/pitchayanontclinic Website : http://www.pitchayanont.com

หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop)

การรักษางูสวัด

- หากมีอาการปวดให้ใช้ยาแก้ปวด เช่น NSAIDs, Aspirin
- การให้ยารับประทานควรจะให้ภายใน 72 ชั่วโมงหลังเกิดผื่นซึ่งจะทำให้ผื่นหายเร็ว ลดอาการเจ็บปวด และจำนวนเชื้อในตุ่ม ยาที่ไช้ ได้แก่ Acyclovir 800 mg วันละ 5 ครั้งเป็นเวลา70-10 วัน
- การใช้ยาทายังไม่ได้รับการยอมรับ
- การใช้ยา steroid มีรายงานว่าการให้ยา steroid ร่วมกับยาต้านไวรัสจะทำให้แผลหายเร็ว และอาการเจ็บปวด แต่ไม่แนะนำให้ steroid เพียงอย่างเดียว
- มีวัคซีนที่ใช้ฉีดเพื่อป้องกันงูสวัส โดยจะฉีดในคนที่เคยเป็นไข้สุกใสแล้ว อายุมากกว่า 60 ปีพบว่าสามารถลดการเกิดงุสวัสได้ร้อยละ 50 และลดอาการปวด
คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง รพ.ม.อ. (สามแยกคลองเรียน อ.หาดใหญ่) แผนที่ https://goo.gl/wp5jbc
โรคทั่วไป โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ ฉีดยา เจาะเลือด ยาคุม ใบรับรองแพทย์สุขภาพ
กระเพาะ กรดไหลย้อน ผื่นแพ้ ลมพิษ เชื้อรา ซึมเศร้า แพนิค โทร. 080-488-9555 Line@ : @Pitchayanont
Facebook : http://www.facebook.com/pitchayanontclinic Website : http://www.pitchayanont.com

หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop)

โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ

หมายถึงการเกิดการอักเสบของระบบขับปัสสาวะ ซึ่งเริ่มตั้งแต่ท่อปัสสาวะจนถึงไต สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อโรคแถวบริเวณท่อปัสสาวะ

ภาวะติดเชื้อทางเดินปัสสาวะเป็นปัญหาที่พบบ่อย ทั้งในผู้ใหญ่ และเด็ก ผู้หญิงจะพบบ่อยกว่าผู้ชาย 8-10 เท่าประมาณว่าคุณผู้หญิง1ใน 5 คนเป็นคนที่เคยเป็นโรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ

การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบนจะหมายถึงกรวยไตอักเสบ ส่วนการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนล่างหมายถึง กระเพาะปัสสาวะอักเสบ หรือท่อปัสสาวะอักเสบ

สาเหตุของทางเดินปัสสาวะอักเสบ

ปัสสาวะปกติจะประกอบด้วยน้ำ และเกลือ ไม่มีเชื้อโรค การติดเชื้อเกิดเมื่อมีเชื้อโรคมาจากทางเดินอาหาร หรือจากอุจาระ มาทางท่อปัสสาวะ ทำให้ท่อปัสสาวะอักเสบ เรียก Urethritis หากเชื้อลามเข้ากระเพาะปัสสาวะเรียกกระเพาะปัสสาวะอักเสบ Cystittis หากเชื้อลามเข้าท่อไต และกรวยไตทำให้เกิดกรวยไตอักเสบ Pyelonephritis

*** เชื้อที่เป็นสาเหตุสำคัญคือ E coli เป็นเชื้อที่มาจากอุจาระเชื้อที่พบรองลงมาได้แก่  Staphylococcus นอกจากนั้นยังพบเชื้อที่เกิดจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น Clamydia และ Mycoplasma ก็สามารถทำให้เกิดกระเพาะปัสสาวะอักเสบ เชื้อดังกล่าวเกิดจากเพศสัมพันธ์จะต้องรักษาทั้งคู่

ใครมีโอกาศเกิดโรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ

- ผู้ที่มีนิ่วทางเดินปัสสาวะ
- ผู้ที่มีต่อมลูกหมากโตเพราะก่อให้เกิดการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ
- ผู้ที่คาสายสวนปัสสาวะ
- ผู้ที่ระบบประสาทควบคุมการปัสสาวะเสียมีภาวะที่กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ หรือ ปัสสาวะแต่ละครั้งไม่หมด เช่นโรคเบาหวาน ประสาทไขสันหลังอักเสบ
- มีโรคที่ภูมิคุ้มกันต้านทานโรคต่ำ ร่างกายจึงติดเชื้อได้ง่าย เช่น โรคเบาหวาน โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต เพราะจะมีปัญหาในการถ่ายปัสสาวะ มักเกิดการแช่ค้างของปัสสาวะ แบคทีเรียในปัสสาวะจึงเจริญเติบโตได้ดี
- การนั่งนานๆ เช่น เมื่อรถติดมาก การกลั้นปัสสาวะนานๆ เพราะส่งผลให้เกิดการแช่คั่งของปัสสาวะ เชื้อโรคในปัสสาวะจึงเจริญได้ดี
- ผู้หญิงมีโอกาสเกิดทางเดินปัสสาวะอักเสบได้ง่ายกว่าผู้ชายเนื่องจากท่อปัสสาวะของผู้หญิงสั้น เชื้อโรคบริเวณปากท่อปัสสาวะ จึงเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะได้ง่ายและตำแหน่งที่เปิดอยู่ใกล้กับทวารหนัก และช่องคลอดททำให้เชื้อลุกลามมาที่ท่อปัสสาวะได้ง่าย
- ช่วงมีประจำเดือน บริเวณปากช่องคลอดและท่อปัสสาวะจะมีเชื้อแบคทีเรียมากจึงเกิดการติดเชื้อได้ง่าย
- การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน เช่นช่วงการตั้งครรภ์หรือวัยทองจะทำให้ติดเชื้อได้ง่าย
- ภาวะตั้งครรภ์ มดลูกมีการกดทับกระเพาะปัสสาวะ ทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย
- วัยเจริญพันธ์มีกิจกรรมทางเพศทำให้เกดการติดเชื้อได้ง่าย
- การคุมกำเนิดโดยการใช้ยาฆ่าเชื้ออสุจิ หรือการใช้ฝาครอบซึ่งไม่สะอาดจะเป็นปัจจัยเสี่ยงทำให้เกิดการติดเชื้อ



***ผู้ทางเดินปัสสาวะอักเสบจะมีอาการอะไรบ้าง

- ผู้ที่ท่อปัสสาวะอักเสบ Urethritis จะมีอาการปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะจะสุดแล้วมีอาการปวด บางรายมีคราบหนองติดกางเกงใน
- ผู้ที่มีกระเพาะปัสสาวะอักเสบจะมีอาการปวดหน่วงๆท้องน้อย ปัสสาวะออกครั้งละน้อยๆ ปวดมากเมื่อปัสสาวะจะสุด บางรายมีเลือดปนและเลือดออก
- ผู้ที่มีกรวยไตอักเสบ Pyelonephritis จะมีอาการเหมือนกระเพาะปัสสาวะอักเสบ แต่จะมีไข้ ปวดเอว ปัสสาวะขุ่น

การรักษาทางเดินปัสสาวะอักเสบ

- ผู้ป่วยที่มีอาการไม่นาน ไม่มีไข้ ไม่ปวดเอว ไม่มีโรคประจำตัว อาจจะเลือกใช้ยา trimethoprim/ sulfamethoxazole, amoxicillin, ampicillin, ofloxacin, norfloxacin, ciprofloxacin โดยทั่วไปอาจจะรักษา 1-2 วันก็ทำให้หายได้ แต่แพทย์มักจะแนะนำให้รับประทานยาให้ครบ 7 วัน เพื่อให้แน่ใจว่าหายขาด การรักษา 1-2 วันไม่ควรใช้ในผู้ป่วยที่เป็นมานาน มีอาการรุนแรง หรือมีโรคประจำตัวเช่นเบาหวาน หรือต่อมลูกหมากโต
- ผู้ที่มีอาการมาก มีไข้สูง ปวดเอวมาก ควรจะรับไว้ในโรงพยาบาล และให้ยาปฏิชีวนะเข้าทางหลอดเลือด

วิธีป้องกันการติดเชื้อซ้ำ

- ดื่มน้ำให้มากเข้าไว้ ดื่มน้ำสะอาดให้มากกว่าเดิม อย่างน้อยวันละ 8-10แก้ว
- ห้ามกลั้นปัสสาวะ
- ให้เช็ดก้นจากหน้าไปหลัง
- ให้ทำความสะอาดอวัยวะเพศก่อนที่จะมีกิจกรรมทางเพศ
- พยายามเคลื่อนไหวร่างกายเสมอ ไม่นั่งนานๆ เช่น เมื่อรถติดมาก
- ไม่ใช้ยาดับกลิ่นบริเวณอวัยวะเพศ
- ให้ปัสสาวะก่อนและหลังการมีเพศสัมพันธ์ จะช่วยลดปริมาณเชื้อโรคในปัสสาวะลง
- การขลิบอวัยวะเพศจะลดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ

ที่มา : http://siamhealth.net/public_html/Disease/renal/uti/UTI.htm#.UiNkibzRybU
คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง รพ.ม.อ. (สามแยกคลองเรียน อ.หาดใหญ่) แผนที่ https://goo.gl/wp5jbc
โรคทั่วไป โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ ฉีดยา เจาะเลือด ยาคุม ใบรับรองแพทย์สุขภาพ
กระเพาะ กรดไหลย้อน ผื่นแพ้ ลมพิษ เชื้อรา ซึมเศร้า แพนิค โทร. 080-488-9555 Line@ : @Pitchayanont
Facebook : http://www.facebook.com/pitchayanontclinic Website : http://www.pitchayanont.com

หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop)

คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง ม.อ. (สามแยกคลองเรียน ตรงข้ามร้านโกเซี๊ยะ)
เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ เวียนหัวบ้านหมุน มืนศีรษะ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย ปวดหลัง ปวดเข่า
กระเพาะ กรดไหลย้อน ท้องเสีย ท้องผูก ไข้สูง หวัด ภูมิแพ้ ไอ หอบหืด ผื่นแพ้ คัน เชื้อรา
หายใจไม่อิ่ม ใจสั่น นอนไม่หลับ ซึมเศร้า กังวล ใบรับรองแพทย์สุขภาพ ฉีดยา


แผนที่การเดินทาง
http://g.co/maps/xaquw <---คลิ๊ก google maps



http://www.pitchayanont.com หรือ
https://www.facebook.com/pitchayanontclinic

Line ID : pitchayanont

 

เวลาเปิดทำการ
จันทร์-ศุกร์ 17.00-19.30 น.
เสาร์ 9.00-11.30 น. และ 17.00-19.00 น.
อาทิตย์ 17.00-19.00 น.

โทร. 080-488-9555
คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง รพ.ม.อ. (สามแยกคลองเรียน อ.หาดใหญ่) แผนที่ https://goo.gl/wp5jbc
โรคทั่วไป โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ ฉีดยา เจาะเลือด ยาคุม ใบรับรองแพทย์สุขภาพ
กระเพาะ กรดไหลย้อน ผื่นแพ้ ลมพิษ เชื้อรา ซึมเศร้า แพนิค โทร. 080-488-9555 Line@ : @Pitchayanont
Facebook : http://www.facebook.com/pitchayanontclinic Website : http://www.pitchayanont.com

หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop)

โรคกรดไหลย้อน
หมายถึงภาวะที่กรดหรือน้ำย่อยในกระเพาะไหลย้อนมาในหลอดอาหาร ทำให้เกิดการอักเสบของหลอดอาหาร ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บหน้าอกโครงสร้างของกระเพาะอาหาร

เมื่อเรารับประทานอาหารทางปาก อาหารจะถูกเคี้ยว และกลืนเข้าหลอดอาหาร อาหาร จะถูกบีบไล่ไปยังกระเพาะอาหาร ระหว่างรอยต่อของกระเพาะอาหาร และหลอดอาหารจะมีหูรูด หรือที่เรียกว่า Sphincter ทำให้ที่ปิดมิให้อาหารหรือกรดไหลย้อนกลับไปยังหลอดอาหาร เมื่ออาหารอยู่ในกระเพาะจะมีกรดออกมาจำนวนมาก เมื่ออาหารได้รับการย่อยแล้วจะถูกการบีบไปยังลำไส้เล็ก ดังนั้นหากมีกรดไหลย้อนไปยังหลอดอาหารก็จะมีอาการเจ็บหน้าอก

โรคกรดไหลย้อนคืออะไร
คือภาวะที่กรดไหลย้อนจากกระเพาะอาหารไปยังหลอดอาหาร ทำให้เกิดอาการเจ็บแน่นหน้าอก หรือแสบหน้าอก บางครั้งอาจจะรู้สึกรสเปรี้ยว

สาเหตุของกรดไหลย้อน
- ดื่มสุรา
- อ้วน
- ตั้งครรภ์
- สูบบุหรี่
- อาหารรสเปรี้ยว เผ็ด อาหารมักดอง อาหารมัน อาหารย่อยยาก
- ทานอาหารมากจนอิ่มเกินไป
- ช้อกโกแลต กาแฟ น้ำอัดลม
- คนเครียด
- อาหารมัน ของทอด



อาการของกรดไหลย้อนทางหลอดอาหาร

- อาการปวดเสบร้อนบริเวณหน้าอก และลิ้มปี่ที่เรียกว่าร้อนใน (heart burn) บางครั้งอาจจะร้าวไปที่คอได้
- รู้สึกมีก้อนอยู่ในคอ
- กลืนลำบาก หรือกลืนแล้วเจ็บ
- เจ็บคอหรือแสบลิ้นเรื้อรัง โดยเฉพาะในตอนเช้า
- รู้สึกเหมือนมีรสขมของน้ำดี หรือมีรสเปรี้ยวของกรดในคอหรือปาก
- มีเสมหะอยู่ในคอ หรือระคอตลอดเวลา
- เรอบ่อย คลื่นไส้
- รู้สึกจุกแน่นอยู่ในหน้าอก คล้ายอาหารไม่ย่อย



อาการของกรดไหลย้อนทางกล่องเสียง และปอด

- เสียงแหบเรื้อรัง หรือแหบเฉพาะตอนเช้าหรือมีเสียงผิดปกติจากเดิม
- ไอเรื้อรัง
- ไอ หรือ รู้สึกสำลักในเวลากลางคืน
- กระแอมไอบ่อย
- อาการหอบหืดแย่ลง
- เจ็บหน้าอก
- เป็นโรคปอดอักเสบเป็นๆหายๆ

การรักษากรดไหลย้อน

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

- ลดน้ำหนักสำหรับผู้ที่มีน้ำหนักเกิน เพราะคนอ้วนจะมีความดันในช่องท้องสูงทำให้กรดไหลย้อนได้มาก
- งดบุหรี่เพราะการสูบบุหรี่จะทำให้เกิดกรดมาก และหูรูดอ่อนแรง
- ใส่เสื้อหลวมๆ
- ไม่ควรจะนอน ออกกำลังกาย หรือยกของหนักหลังออกกำลังกาย
- งดอาหารมันๆ อาหารทอด อาหารที่ปรุงด้วยหัวหอม กระเทียม มะเขือเทศ ช้อกโกแลต ถั่ว ลูกอม เนย ไข่ เผ็ด เปรี้ยว เค็มจัด
- รับประทานอาหารพออิ่ม
- หลีกเลี่ยง ชา กาแฟ น้ำอัดลม เบียร์ สุรา
- นอนหัวให้สูงประมาณ 6-10 นิ้ว โดยหนุนที่ขาเตียง ไม่ควรใช้หมอนหนุนที่ศีรษะเพราะทำให้ความดันในช่องท้องสูง
- รับประทานอาหารมื้อเล็กๆ
- ควรจะเข้านอนหรือเอนกายหลังจากรับประทานอาหารไปแล้วอย่างน้อย 3 ชั่วโมง

การรักษาด้วยยา

*** Antacids เป็นยาตัวแรกที่ใช้ สำหรับผู้ป่วยที่อาการไม่มาก
*** ใช้ยา proton pump inhibitor ซึ่งเป็นยาที่ลดกรดได้เป็นอย่างดีอาจจะใช้เวลารักษา1-3 เดือน เทื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ก็อาจจะลดยาลงได้ยาที่นิยมใช้ได้แก่ omeprazole , lansoprazole , pantoprazole , rabeprazole, และ esomeprazole
*** หลีกเลี่ยงยาบางชนิดที่ทำให้กระเพาะหลั่งกรดมาก หรือทำให้หูรูดหย่อน เช่น ยาแก้ปวด aspirin NSAID VITAMIN C

โรคแทรกซ้อน

- หลอดอาหารที่อักเสบอาจจะทำให้เกิดแผล และมีเลือดออด หรือหลอดอาหารตีบทำให้กลืนอาหารลำบาก
- อาจจะทำให้โรคปอดแย่ลง เช่นโรคหอบหืดเป็นมากขึ้น ไอเรื้อรัง ปอดอักเสบ

***จะไปพบแพทย์เมื่อไร

ผู้ป่วยส่วนใหญ่อาการจะไม่รุนแรง หากมีอาการดังต่อไปนี้ให้รีบพบแพทย์
** อาเจียนบ่อย หรือมีเลือดปน
** กลืนติด หรือกลืนลำบาก
** อุจาระสีดำ หรือมีเลือดปน
** อ่อนเพลีย ซีด
** น้ำหนักลดอย่างต่อเนื่องโดยไม่มีสาเหตุ
** รับประทานยาแล้วอาการยังไม่ดีขึ้น

ที่มา http://siamhealth.net/public_html/Disease/GI/reflux/reflux.htm#.UiNfiLzRybU
คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง รพ.ม.อ. (สามแยกคลองเรียน อ.หาดใหญ่) แผนที่ https://goo.gl/wp5jbc
โรคทั่วไป โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ ฉีดยา เจาะเลือด ยาคุม ใบรับรองแพทย์สุขภาพ
กระเพาะ กรดไหลย้อน ผื่นแพ้ ลมพิษ เชื้อรา ซึมเศร้า แพนิค โทร. 080-488-9555 Line@ : @Pitchayanont
Facebook : http://www.facebook.com/pitchayanontclinic Website : http://www.pitchayanont.com

หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop)

คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง ม.อ. (สามแยกคลองเรียน ตรงข้ามร้านโกเซี๊ยะ)
เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ เวียนหัวบ้านหมุน มืนศีรษะ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย ปวดหลัง ปวดเข่า
กระเพาะ กรดไหลย้อน ท้องเสีย ท้องผูก ไข้สูง หวัด ภูมิแพ้ ไอ หอบหืด ผื่นแพ้ คัน เชื้อรา
หายใจไม่อิ่ม ใจสั่น นอนไม่หลับ ซึมเศร้า กังวล ใบรับรองแพทย์สุขภาพ ฉีดยา


แผนที่การเดินทาง
http://g.co/maps/xaquw <---คลิ๊ก google maps



http://www.pitchayanont.com หรือ
https://www.facebook.com/pitchayanontclinic

Line ID : pitchayanont

 

เวลาเปิดทำการ
จันทร์-ศุกร์ 17.00-19.30 น.
เสาร์ 9.00-11.30 น. และ 17.00-19.00 น.
อาทิตย์ 17.00-19.00 น.

โทร. 080-488-9555
คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง รพ.ม.อ. (สามแยกคลองเรียน อ.หาดใหญ่) แผนที่ https://goo.gl/wp5jbc
โรคทั่วไป โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ ฉีดยา เจาะเลือด ยาคุม ใบรับรองแพทย์สุขภาพ
กระเพาะ กรดไหลย้อน ผื่นแพ้ ลมพิษ เชื้อรา ซึมเศร้า แพนิค โทร. 080-488-9555 Line@ : @Pitchayanont
Facebook : http://www.facebook.com/pitchayanontclinic Website : http://www.pitchayanont.com

หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop)

คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง ม.อ. (สามแยกคลองเรียน ตรงข้ามร้านโกเซี๊ยะ)
เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ เวียนหัวบ้านหมุน มืนศีรษะ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย ปวดหลัง ปวดเข่า
กระเพาะ กรดไหลย้อน ท้องเสีย ท้องผูก ไข้สูง หวัด ภูมิแพ้ ไอ หอบหืด ผื่นแพ้ คัน เชื้อรา
หายใจไม่อิ่ม ใจสั่น นอนไม่หลับ ซึมเศร้า กังวล ใบรับรองแพทย์สุขภาพ ฉีดยา


เวลาเปิดทำการ
จันทร์-ศุกร์ 17.00-19.30 น.
เสาร์ 9.00-11.30 น. และ 17.00-19.00 น.
อาทิตย์ 17.00-19.00 น.

โทร. 080-488-9555


แผนที่การเดินทาง
http://g.co/maps/xaquw <---คลิ๊ก google maps



http://www.pitchayanont.com หรือ
https://www.facebook.com/pitchayanontclinic

Line ID : pitchayanont

 
คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง รพ.ม.อ. (สามแยกคลองเรียน อ.หาดใหญ่) แผนที่ https://goo.gl/wp5jbc
โรคทั่วไป โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ ฉีดยา เจาะเลือด ยาคุม ใบรับรองแพทย์สุขภาพ
กระเพาะ กรดไหลย้อน ผื่นแพ้ ลมพิษ เชื้อรา ซึมเศร้า แพนิค โทร. 080-488-9555 Line@ : @Pitchayanont
Facebook : http://www.facebook.com/pitchayanontclinic Website : http://www.pitchayanont.com

หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop)

โรคกรดไหลย้อน
หมายถึงภาวะที่กรดหรือน้ำย่อยในกระเพาะไหลย้อนมาในหลอดอาหาร ทำให้เกิดการอักเสบของหลอดอาหาร ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บหน้าอกโครงสร้างของกระเพาะอาหาร

เมื่อเรารับประทานอาหารทางปาก อาหารจะถูกเคี้ยว และกลืนเข้าหลอดอาหาร อาหาร จะถูกบีบไล่ไปยังกระเพาะอาหาร ระหว่างรอยต่อของกระเพาะอาหาร และหลอดอาหารจะมีหูรูด หรือที่เรียกว่า Sphincter ทำให้ที่ปิดมิให้อาหารหรือกรดไหลย้อนกลับไปยังหลอดอาหาร เมื่ออาหารอยู่ในกระเพาะจะมีกรดออกมาจำนวนมาก เมื่ออาหารได้รับการย่อยแล้วจะถูกการบีบไปยังลำไส้เล็ก ดังนั้นหากมีกรดไหลย้อนไปยังหลอดอาหารก็จะมีอาการเจ็บหน้าอก

โรคกรดไหลย้อนคืออะไร
คือภาวะที่กรดไหลย้อนจากกระเพาะอาหารไปยังหลอดอาหาร ทำให้เกิดอาการเจ็บแน่นหน้าอก หรือแสบหน้าอก บางครั้งอาจจะรู้สึกรสเปรี้ยว

สาเหตุของกรดไหลย้อน
- ดื่มสุรา
- อ้วน
- ตั้งครรภ์
- สูบบุหรี่
- อาหารรสเปรี้ยว เผ็ด อาหารมักดอง อาหารมัน อาหารย่อยยาก
- ทานอาหารมากจนอิ่มเกินไป
- ช้อกโกแลต กาแฟ น้ำอัดลม
- คนเครียด
- อาหารมัน ของทอด



อาการของกรดไหลย้อนทางหลอดอาหาร

- อาการปวดเสบร้อนบริเวณหน้าอก และลิ้มปี่ที่เรียกว่าร้อนใน (heart burn) บางครั้งอาจจะร้าวไปที่คอได้
- รู้สึกมีก้อนอยู่ในคอ
- กลืนลำบาก หรือกลืนแล้วเจ็บ
- เจ็บคอหรือแสบลิ้นเรื้อรัง โดยเฉพาะในตอนเช้า
- รู้สึกเหมือนมีรสขมของน้ำดี หรือมีรสเปรี้ยวของกรดในคอหรือปาก
- มีเสมหะอยู่ในคอ หรือระคอตลอดเวลา
- เรอบ่อย คลื่นไส้
- รู้สึกจุกแน่นอยู่ในหน้าอก คล้ายอาหารไม่ย่อย



อาการของกรดไหลย้อนทางกล่องเสียง และปอด

- เสียงแหบเรื้อรัง หรือแหบเฉพาะตอนเช้าหรือมีเสียงผิดปกติจากเดิม
- ไอเรื้อรัง
- ไอ หรือ รู้สึกสำลักในเวลากลางคืน
- กระแอมไอบ่อย
- อาการหอบหืดแย่ลง
- เจ็บหน้าอก
- เป็นโรคปอดอักเสบเป็นๆหายๆ

การรักษากรดไหลย้อน

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

- ลดน้ำหนักสำหรับผู้ที่มีน้ำหนักเกิน เพราะคนอ้วนจะมีความดันในช่องท้องสูงทำให้กรดไหลย้อนได้มาก
- งดบุหรี่เพราะการสูบบุหรี่จะทำให้เกิดกรดมาก และหูรูดอ่อนแรง
- ใส่เสื้อหลวมๆ
- ไม่ควรจะนอน ออกกำลังกาย หรือยกของหนักหลังออกกำลังกาย
- งดอาหารมันๆ อาหารทอด อาหารที่ปรุงด้วยหัวหอม กระเทียม มะเขือเทศ ช้อกโกแลต ถั่ว ลูกอม เนย ไข่ เผ็ด เปรี้ยว เค็มจัด
- รับประทานอาหารพออิ่ม
- หลีกเลี่ยง ชา กาแฟ น้ำอัดลม เบียร์ สุรา
- นอนหัวให้สูงประมาณ 6-10 นิ้ว โดยหนุนที่ขาเตียง ไม่ควรใช้หมอนหนุนที่ศีรษะเพราะทำให้ความดันในช่องท้องสูง
- รับประทานอาหารมื้อเล็กๆ
- ควรจะเข้านอนหรือเอนกายหลังจากรับประทานอาหารไปแล้วอย่างน้อย 3 ชั่วโมง

การรักษาด้วยยา

*** Antacids เป็นยาตัวแรกที่ใช้ สำหรับผู้ป่วยที่อาการไม่มาก
*** ใช้ยา proton pump inhibitor ซึ่งเป็นยาที่ลดกรดได้เป็นอย่างดีอาจจะใช้เวลารักษา1-3 เดือน เทื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ก็อาจจะลดยาลงได้ยาที่นิยมใช้ได้แก่ omeprazole , lansoprazole , pantoprazole , rabeprazole, และ esomeprazole
*** หลีกเลี่ยงยาบางชนิดที่ทำให้กระเพาะหลั่งกรดมาก หรือทำให้หูรูดหย่อน เช่น ยาแก้ปวด aspirin NSAID VITAMIN C

โรคแทรกซ้อน

- หลอดอาหารที่อักเสบอาจจะทำให้เกิดแผล และมีเลือดออด หรือหลอดอาหารตีบทำให้กลืนอาหารลำบาก
- อาจจะทำให้โรคปอดแย่ลง เช่นโรคหอบหืดเป็นมากขึ้น ไอเรื้อรัง ปอดอักเสบ

***จะไปพบแพทย์เมื่อไร

ผู้ป่วยส่วนใหญ่อาการจะไม่รุนแรง หากมีอาการดังต่อไปนี้ให้รีบพบแพทย์
** อาเจียนบ่อย หรือมีเลือดปน
** กลืนติด หรือกลืนลำบาก
** อุจาระสีดำ หรือมีเลือดปน
** อ่อนเพลีย ซีด
** น้ำหนักลดอย่างต่อเนื่องโดยไม่มีสาเหตุ
** รับประทานยาแล้วอาการยังไม่ดีขึ้น

ที่มา http://siamhealth.net/public_html/Disease/GI/reflux/reflux.htm#.UiNfiLzRybU
คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง รพ.ม.อ. (สามแยกคลองเรียน อ.หาดใหญ่) แผนที่ https://goo.gl/wp5jbc
โรคทั่วไป โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ ฉีดยา เจาะเลือด ยาคุม ใบรับรองแพทย์สุขภาพ
กระเพาะ กรดไหลย้อน ผื่นแพ้ ลมพิษ เชื้อรา ซึมเศร้า แพนิค โทร. 080-488-9555 Line@ : @Pitchayanont
Facebook : http://www.facebook.com/pitchayanontclinic Website : http://www.pitchayanont.com

หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop)

คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง ม.อ. (สามแยกคลองเรียน ตรงข้ามร้านโกเซี๊ยะ)
เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ เวียนหัวบ้านหมุน มืนศีรษะ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย ปวดหลัง ปวดเข่า
กระเพาะ กรดไหลย้อน ท้องเสีย ท้องผูก ไข้สูง หวัด ภูมิแพ้ ไอ หอบหืด ผื่นแพ้ คัน เชื้อรา
หายใจไม่อิ่ม ใจสั่น นอนไม่หลับ ซึมเศร้า กังวล ใบรับรองแพทย์สุขภาพ ฉีดยา


แผนที่การเดินทาง
http://g.co/maps/xaquw <---คลิ๊ก google maps



http://www.pitchayanont.com หรือ
https://www.facebook.com/pitchayanontclinic

Line ID : pitchayanont

 

เวลาเปิดทำการ
จันทร์-ศุกร์ 17.00-19.30 น.
เสาร์ 9.00-11.30 น. และ 17.00-19.00 น.
อาทิตย์ 17.00-19.00 น.

โทร. 080-488-9555
คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง รพ.ม.อ. (สามแยกคลองเรียน อ.หาดใหญ่) แผนที่ https://goo.gl/wp5jbc
โรคทั่วไป โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ ฉีดยา เจาะเลือด ยาคุม ใบรับรองแพทย์สุขภาพ
กระเพาะ กรดไหลย้อน ผื่นแพ้ ลมพิษ เชื้อรา ซึมเศร้า แพนิค โทร. 080-488-9555 Line@ : @Pitchayanont
Facebook : http://www.facebook.com/pitchayanontclinic Website : http://www.pitchayanont.com

หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop)

เวียนศีรษะ มืนศีรษะ บ้านหมุน (Dizziness)

โรคเวียนศีรษะ ผู้ป่วยมักจะมีชื่อเรียกต่างๆกัน เช่น มึนศีรษะ งงศีรษะ บ้านหมุน หนักศีรษะ เป็นลม เป็นปัญหาในการสื่อสารกับแพทย์เป็นอันมาก การที่จะวินิจฉัยโรคได้นั้นแพทย์จะต้องได้ประวัติที่ดี แม้ว่าภาวะนี้จะพบบ่อยแต่ส่วนใหญ่มักจะไม่ร้ายแรง สาเหตุที่พบได้บ่อยคือ จากหูชั้นใน และจากระบบความดันโลหิต



การวินิจฉัยของโรคเวียนศีรษะ

เมื่อท่านไปพบแพทย์ด้วยอาการเวียนศีรษะแพทย์จะถามหลายคำถามและท่านต้องตอบให้ตรงคำถามเพื่อการวินิจฉัยที่ถูกต้อง

ลักษณะของอาการเวียนศีรษะ

- อาการเวียนศีรษะเกิดเมื่อมีการเปลี่ยนท่าเช่นการหันหน้า นั่งไปนอน หรือจากนอนไปท่านั่งเป็นต้น
- ความรุนแรงของอาการเวียนศีรษะ
- สิ่งแวดล้อมรอบตัวหมุนหรือไม่
- ระยะเวลาที่เกิดอาการ
- ปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดอาการ
- ปัจจัยที่ทำให้หาย
- เป็นแต่ละครั้งนานแค่ไหน
- หลังจากเวียนศีรษะมีอาการอื่นร่วมด้วยหรือไม่
- เป็นบ่อยแค่ไหน
- อาการที่เกิดร่วมกับอาการเวียนศีรษะ
- มีอาการคลื่นไส้อาเจียนร่วมด้วยหรือไม่
- มีอาการเครียดด้วยหรือไม่
- มีอาการหน้ามืดเป็นลมหมดสติร่วมด้วยหรือไม่
- มีเสียงดังในหูหรือไม่
- มีอาการอื่นๆร่วมด้วยหรือไม่
- ท่านเป็นเวียนศีรษะประเภทไหน

การวินิจฉัยและรักษา ซึ่งแบ่งเป็นชนิดใหญ่ๆได้ 4 ชนิด

1. อาการเวียนศีรษะแบบบ้านหมุน (vertigo) เป็นอาการที่สิ่งแวดล้อมรอบตัวหมุน การเปลี่ยนท่า เช่นหันหน้าหรือการเปลี่ยนจากนอนเป็นนั่งจะทำให้เกิดอาการหมุน ผู้ป่วยมักจะนอนหลับตา หากลืมตาบ้านจะหมุนทำให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน สาเหตุเกิดจากโรคของหูชั้นใน โรคที่เป็นสาเหตุได้แก่
- Benign paroxysmal positional vertigo (BPPV)เมื่อท่านหันศีรษะหรือพลิกตัวจะทำให้ท่านเวียนศีรษะบ้านหมุนเกิดจากโรคหูชั้นใน
- Vestibular neuronitis (labyrinthitis) เกิดจาการอักเสบของหูชั้นในจากเชื้อไวรัส
- Meniere's disease เกิดจากน้ำเลี้ยงในหูชั้นในเพิ่มขึ้น
- Acoustic neuroma เกิดจากเนื้องอกกดเส้นประสาท
- Medications ยาหลายชนิดทำให้เกิดอาการเวียนศีรษะเช่น Aspirin, streptomycin, gentamicin, caffeine, alcohol และยาโรคความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจ



2. อาการหน้ามืดเป็นลม (Fainting) มักเกิดขณะนั่งหรือนอนแล้วลุกขึ้นยืนผู้ป่วยจะรู้สึกเป็นลม หน้ามืด มีอาการใจสั่น เหงื่อออก หน้าซีด ต้องนอนหรือนั่งจึงจะดีขึ้นที่สำคัญคือจะไม่หมดสติ บางรายมีคลื่นไส้ สาเหตุ
- ความดันโลหิตต่ำ
- เลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอจากโรคหลอดเลือดสมองตีบ โรคหัวใจวาย หัวใจเต้นผิดจังหวะ

3. ผู้ป่วยที่มีอาการหนักศีรษะมึนๆ ผู้ป่วยรู้สึกมึนในศีรษะสาเหตุที่พบบ่อยได้แก่
- โรคหูชั้นใน
- โรคเครียด

4. เวียนศีรษะแบบเดินเซทรงตัวไม่ได้ ผู้ป่วยจะมีอาการทรงตัวไม่ได้เวลาเดิน โรคที่เป็นสาเหตุ ได้แก่
- โรคหูชั้นใน
- โรคของระบบประสาท
- ผู้ป่วยที่เป็นโรคข้อเสื่อมและกล้ามเนื้ออ่อนแรงทำให้ทรงตัวลำบาก
- จากยา เช่น ยานอนหลับ ยากันชัก

อาการเวียนศีรษะที่ต้องปรึกษาแพทย์



- เวียนศีรษะร่วมกับอาการหมดสติ
- ตามัว
- หูหนวก
- พูดลำบาก
- อ่อนแรงแขนขา
- ชาแขนขา
- เวียนศีรษะบ้านหมุน
- เวียนศีรษะจนทำงานประจำไม่ได้
- หากสงสัยว่าเกิดจากยาควรปรึกษาแพทย์
- หากมีอาการมึนๆมากกว่า 3 สัปดาห์
- มีอาการอื่นร่วมเช่น แน่นหน้าอก หรือมีอาการอื่นร่วมด้วย
- อาการเหล่านี้อาจจะเป็นอาการเตือนของเนื้องอกในสมอง เส้นเลือดในสมองตีบ

การดูแลตัวเองเบื้องต้น

- นอนพักจนอาการเริ่มดีขึ้น
- อย่าเปลี่ยนท่าอย่างกระทันหัน
- หันศีรษะช้าๆ
- หลีกเลี่ยงสาเหตุที่ทำให้เลือดไปเลี้ยงสมองลดลง เช่น เกลือ ยาบางชนิด
- หลีกเลี่ยงปัจจัยที่กระตุ้นเช่น ความเครียด ภูมิแพ้
- หลีกเลี่ยงพฤติกรรมบางอย่างเช่นการขับยานพาหนะ การปีนบันได
- หลีกเลี่ยงการอ่านหนังสือขณะอยู่ในยานพาหนะเพราะอาจจะทำให้เกิดเมารถ เมาเรือ
- หลีกเลี่ยงกลิ่นฉุน
- ยาแก้เวียนศีรษะ เช่น betahistine, Flunarizine, dimenhydrinate or diazepam

ref. http://siamhealth.net/public_html/Disease/neuro/diziness/index.htm#.V-vM45N96u4
คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง รพ.ม.อ. (สามแยกคลองเรียน อ.หาดใหญ่) แผนที่ https://goo.gl/wp5jbc
โรคทั่วไป โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ ฉีดยา เจาะเลือด ยาคุม ใบรับรองแพทย์สุขภาพ
กระเพาะ กรดไหลย้อน ผื่นแพ้ ลมพิษ เชื้อรา ซึมเศร้า แพนิค โทร. 080-488-9555 Line@ : @Pitchayanont
Facebook : http://www.facebook.com/pitchayanontclinic Website : http://www.pitchayanont.com

หมอพิชญานนท์ (Dr.Pop)

วัยทองหรือหมดประจำเดือนคืออะไร

วัยทองเป็นวัยที่รังไข่สร้างฮอร์โมนออกมาน้อยและไม่สม่ำเสมอทำให้มีประจำเดือนไม่สม่ำเสมอ วัยทองรังไข่ทำงานน้อยลงทำให้สร้างฮอร์โมนออกมาน้อยลง[ estrogen,progesterone] ทำให้บางท่านอาจจะมีประจำเดือนมากขึ้นบางคนน้อยลง บางคนประจำเดือนห่างบางคนก็มาถี่ ฮอร์โมนนี้จะช่วยในการมีประจำเดือน การตั้งครรภ์ ความแข็งแรงของกระดูก ลดระดับ cholesterol

วัยทองจะเริ่มเมื่อไร

หญิงอายุตั้งแต่30 ปีขึ้นไปจน 50ปีสามารถเกิดวัยทองได้ โดยเฉลี่ยคืออายุ 51 ปี
ผู้ที่สูบบุหรี่จะเกิดวัยทองได้เร็วกว่าผู้ไม่สูบบุหรี่ ผู้ที่ตัดรังไข่ก็สามารถเกิดวัยทองได้ทันทีหลังตัดรังไข่



อาการเตือนของวัยทองมีอะไรบ้าง

อาการอาจจะเป็นไม่กี่เดือนก็หาย แต่โดยเฉลี่ยประมาณ 4 ปี อาการต่างๆมี ดังนี้
1. ประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอ เช่น มาเร็ว มาช้า มามาก มาน้อย มานาน
2. ร้อนตามตัว ผู้ป่วยจะมีร้อนโดยเฉพาะส่วนบนของร่างกาย แก้ม คอหลังจะแดงหลังจากนั้นจะตามด้วยเหงื่อออกและหนาวสั่นในเวลากลางคืน อาการนี้จะเป็นนาน 1-5 นาที
3. ปัญหาเกี่ยวกับช่องคลอดและกระเพาะปัสสาวะ เนื่องจากระดับ estrogen ลดลงทำให้เยื่อบุช่องคลอดแห้งและบางลงผู้ป่วยจะมีอาการปวดขณะร่วมเพศ และมีการติดเชื้อในช่องคลอดบ่อยขึ้น นอกจากนั้นยังมีเรื่องกั้นปัสสาวะไม่อยู่ ปัสสาวะเล็ดเวลาจามหรือไอ
4. มีปัญหาเรื่องการนอน นอนหลับยาก ตื่นเร็ว อาจจะตื่นกลางคืนและเหงื่อออกมาก ผู้ป่วยจะบ่นเรื่องเหนื่อย
5. ผู้ป่วยจะมีอารมณ์ผันผวนโกรธง่ายมีอาการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์เร็ว เครียดง่าย หงุดหงิดโดยไม่มีสาเหตุ โกรธง่าย ใจน้อย ควบคุมอารมณ์ได้ยาก บางคนหลงลืมง่าย เวียนศีรษะ ซึมเศร้า
6. การเปลี่ยนแปลงทางรูปร่าง เอวจะเริ่มหายไป ไขมันที่เคยเกาะบริเวณขาจะเปลี่ยนไปเกาะบริเวณเอวกล้ามเนื้อลดลงมีไขมันเพิ่ม ผิวหนังเริ่มเหี่ยว
7. ผิวหนังจะบางลง แห้งและเกิดเป็นแผลได้ง่าย มีอาการคันตามผิวหนัง และผิวหนังเกิดผื่นแพ้ง่าย
8. เส้นผมจะหยาบแห้งและบางลง หลุดร่วงได้ง่าย ไม่ดกดำเป็นเงางาม
9. ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ หรือปวดตามข้อและกระดูก
10. นอนหลับยากหรือนอนไม่หลับ
11. ปัสสาวะบ่อย กลั้นปัสสาวะไม่ค่อยได้
12. กระดูกจะบางและเปราะง่าย เวลาหกล้มกระดูกจะหักได้ง่ายขึ้น

การรักษาโรคที่มากับวัยทองโดยไม่ใช้ฮอร์โมน

ก่อนการให้ฮอรโมนทดแทนจะต้องประเมินความรุนแรงของโรคที่พบร่วมกับวัยทอง เช่น อาการร้อนตามตัว กระดูกโปร่งบางและต้องมาเปรียบเทียบกับความเสี่ยงที่จะเกิดโรคจากการให้ฮอร์โมน เช่น มะเร็ง โรคหัวใจและหลอดเลือด และจะต้องพิจารณาว่ามีทางเลือกอื่นอีกหรือไม่ในการรักษาภาวะเหล่านี้

ถ้าหากท่านมีอาการร้อนตามตัวจะแก้ไขอย่างไร



    เมื่อเริ่มเกิดอาการร้อนให้ไปอยู่ที่เย็นๆ
    ให้นอนในห้องที่เย็น
    ให้ดื่มน้ำเย็นเมื่อเริ่มรู้สึกร้อน
    หลีกเลี่ยงอาหารเผ็ดๆ และร้อน
    หลีกเลี่ยงสุรา
    หลีกเลี่ยงความเครียด เมื่อเวลาเครียดให้หายใจเข้าออกยาวๆ ช้าและใจเย็นๆ
    ถ้าหนาวให้ใส่เสื้อหลายชั้น และหากร้อนก็สามารถถอดทีละชั้น
    แพทย์บางท่าแนะนำให้ใช้วิตามิน อีซึ่งจะลดอาการได้ร้อยละ 40 clonidine และยาลดอาการซึมเศร้ากลุ่ม SSRI เช่น Prozac Zoloft
    อาหารซึ่งมีถั่วเหลืองจะช่วยลดอาการร้อนตามตัว

อาการนอนไม่หลับและอารมณ์แปรปรวน

    ใช้ยายาลดอาการซึมเศร้ากลุ่ม SSRI ซึ่งจะไปเปลี่ยนแปลงระดับ serotonin ในสมองทำให้ลดอาการซึมเศร้า

ที่มา Siamhealth http://goo.gl/rjtBVQ
คลินิกหมอพิชญานนท์ แพทย์เฉพาะทาง รพ.ม.อ. (สามแยกคลองเรียน อ.หาดใหญ่) แผนที่ https://goo.gl/wp5jbc
โรคทั่วไป โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เบาหวาน ความดัน ไขมัน เก๊าท์ ฉีดยา เจาะเลือด ยาคุม ใบรับรองแพทย์สุขภาพ
กระเพาะ กรดไหลย้อน ผื่นแพ้ ลมพิษ เชื้อรา ซึมเศร้า แพนิค โทร. 080-488-9555 Line@ : @Pitchayanont
Facebook : http://www.facebook.com/pitchayanontclinic Website : http://www.pitchayanont.com