ข่าว:

ทดลองใช้งานบอร์ดตะลุง ที่อยู่ในขั้นตอนการกู้คืนข้อมูล เบื้องต้นมีแต่กระทู้ (ข้อความ) กำลังกู้รูปภาพ ไฟล์แนบต่าง ๆ คาดว่าจะทยอยสมบูรณ์ภายในไม่ช้า

Main Menu

รูปแบบการจัดการตลาดน้ำเพื่อการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชน

เริ่มโดย zaja, 11:31 น. 10 ส.ค 63

zaja

การท่องเที่ยวตลาดน้ำเป็นภาพลักษณ์ของการจัดการท่องเที่ยาชุมชนรูปแบบหนึ่งของ ประเทศไทยที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างประเทตั้งแต่อดีคมาจน ถึงปัจุบัน นับเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 4ปี ซึ่งนักท่องเที่ยวต่างประเทศมีมุมมองการท่องเที่ยวตลาด น้ำว่าเป็นแหล่งศึกษาวิถีชีวิตของชาวไทย และเป็นสิ่งแปลกตาน่ามหัศจรรย์ (Amazing) นักท่องเที่ยวจะได้สัมผัสวิถีชีวิตชุมชนตลาดน้ำเป็นวัฒนธรรมของชาวไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุง สุโขทัและกรุงศรือขุธขา เนื่องจากการคำนินชีวิตของคนในอดีดนั้น จำเป็นต้องใช้การถมนาคม ขนส่งทางน้ำเป็นหลักโดขใช้รือเป็นยานพาหนะ การมาท่องเที่ยวดูลาดน้ำจะทำให้นักท่องเที่ยวได้ หวนรำลึกถึงความเป็นอยู่ของคนในอดี (Nostag.) ประเทศไทขมีตลาดน้ำหลาขแห่งที่มีชื่อเสียง มายาวนาน ได้แก่ ตลาดน้ำคำนินสะควก จังหว้คราชบุรี คลาดน้ำอัมพวา จังหวัคสมุทรสงคราม ตลาดน้ำคอนหวาข ตลาดน้ำว้ลำพญา จังหวัดนครปฐม ตลาดน้ำบางน้ำผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ ในกรุเทพมหานคร ได้แก่ ตลาดน้ำตลิ่งชัน ตลาดน้ำคลองลัดมะยม ตลาดน้ำวัดสะพาน จังหวัด นนทบุรี ได้แก่ ตลาดน้ำไทรน้อย ตลาดน้ำบางกรวย ตลาดน้ำบางดูวียงและยังคงมีดลาดน้ำที่เป็น วิถีชีวิตของชาวบ้านอีกหลายหงที่กระจขอยู่ทั่วไป โดขฉพาะในเขคพื้นที่ภาดกลางที่มีสภาพเป็น ที่ราบลุ่มแม่น้ำ ในการไปเที่ขวชมตลาดน้ำนั้น นักท่องเที่ขวจะได้ห็นแม่ค้ำพายเรือขาขผลผลิดทาง การเกษตร มีการจำหนำขอหารทั้องถิ่น มีการทำอุดสาหกรรมในครัวเรือนรูปแบบต่างๆ เช่น การ ทำน้ำตาลมะพร้ว การทำขนมหวานประเภทต่างๆ การทำไม้กวาด เครื่องจักสาน การนั่งเรือเที่ขวชมสวนผักและสวนผลไม้ ซึ่งรูปแบบกิจกรรมก็จะมีความแตกต่างกันในแต่ละท้องถิ่น (การท่องเที่ยวแห่งประทศไทย, 2552) สล็อตออนไลน์
นอกจากนั้นได้มีการสร้งตลาดน้ำขึ้นมาตามรูปแบบธุรกิจ การท่องเที่ยวหลายแห่ง ซึ่งเป็นการจำลองภาพตลาดน้ำเพื่อแสดงวิถีชีวิตชาวบ้น มีการจำหน่าย สินก้าและผลิตภัณฑ์ในแต่ละภูมิภาค มีการแสดงทางวัฒนธรรมและประเพณี ซึ่งเป็นการสร้ง ทางเลือกให้แก่นักท่องเที่ยวว่าต้องการสัมผัสวิถีชีวิตตลาดน้ำตั้งเดิมหรือต้องการภาพลักษณ์ที่สร้าง ขึ้นมา มีการเรียกเก็บงินค่ข้ชมตามอัดราที่กำหนด ทำให้ผู้ประกอบธุรกิจและเครือข่าขการ ท่องเที่ยวได้รับผลประโยชน์โดขตรง อย่างไรก็ตาม การจัดการท่องเที่ยวนั้นไม่ว่จะเป็นรูปแบบใด ก็ตาม จะต้องมีกระบวนการจัดการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ ไม่เอารัดเอาเปรียบนักท่องเที่ยวซึ่งเป็นสิ่ง สำคัญที่ผู้ดำนินการหรือผู้ที่มีส่วนกี่ขวข้องจะต้องพิจารณาอข่างรอบคอบด้วยกระแสความนิยมในการท่องเที่ยวดถาดน้ำ จึงทำให้มีการสร้งตลาดน้ำขึ้นมาใหม่ใน หลายพื้นที่ ดังเช่นในปี พ.ศ 2547 มีการสร้งตลาดน้ำบางน้ำผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการปี พ.ศ. 2550 มีการสร้งตลาดน้ำบางคล้ำ จังหวัดฉะเชิงเทรา และตลาดน้ำ 4ภาคพัทยา ในปี พ.ศ. 2552 มีการ สร้างตลาดน้ำคลองสระบัวขึ้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธขา และในปี พ.ศ. 253 มีการสร้งตลาด น้ำอโยธยาขึ้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตลาดน้ำวัดสมาน จังหวัดฉะเชิงเทราในปี พ.ศ. 2554 มี การสร้งตลาดน้ำคลองแหจังหวัดสงขลา และตลาดน้ำหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันช์ และในปี พ.ศ. 25รร มีการสร้งตลาดน้ำอเนกฟาร์ม เกิดขึ้นที่จังหวัดอ่างทอง ตลาดน้ำขวัญ-เรียม กรุงเทพๆ ซึ่งตลาดน้ำแต่ละแห่งมีนักท่องเที่ขวให้ความสนใจไปเที่ยวเป็นจำนวนมาก จากสถิติจำนวน นักท่องเที่ยวที่ตลาดน้ำตลิ่งชันมีจำนวนนักท่องเที่ยวประมาณการ (ระหว่างเดือนม.ค.-ก.ค. 53) จำนวน 4,000 คน(รุ่งโรจน์ กตุพานิชย,สัมภาษณ์,รกรกฎาคม 253) และในช่วงเวลาเดียวกัน ตลาดน้ำบางน้ำผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ มีจำนวนนักท่องที่ขวประมาณการ 68,000 กน (สุธาสินี ชัยเขื่อนขันธ์, สัมภาณ์ ร กรกฎาคม 23) ตลาดน้ำวัดลำพญา จังหวัดนครปฐม มีจำนวน นักท่องเที่ขวประมาณการ 42,000 คน(ณรงค์ศักดิ์ เลิศสิทธิพันธ์, สัมภาษณ์, ร กรกฎาคม 2553)