ข่าว:

ทดลองใช้งานบอร์ดตะลุง ที่อยู่ในขั้นตอนการกู้คืนข้อมูล เบื้องต้นมีแต่กระทู้ (ข้อความ) กำลังกู้รูปภาพ ไฟล์แนบต่าง ๆ คาดว่าจะทยอยสมบูรณ์ภายในไม่ช้า

Main Menu

เสาเข็ม-เสาเข็มคอนกรีตอัดแรง, เสาเข็มเจาะ, เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยงอัดแรง

เริ่มโดย panalee, 19:15 น. 09 พ.ค 57

panalee

เสาเข็ม เสาเข็มคอนกรีตอัดแรง, เสาเข็มเจาะ, เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยงอัดแรง









เสาเข็มแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ เสาเข็มตอก และเสาเข็มเจาะ

http://www.xn--22c6dza6a6dc4c.net


1.เสาเข็มตอก


1.1 เสาเข็มตอก บ้างก็เป็นสี่เหลี่ยม บ้างก็เป็นหกเหลี่ยม หรือเป็นรูปตัวไอ ลักษณะหน้าตัด ตันทั้งต้น เวลาตอก ก็ตอกลงไป ตามปกติ เสาเข็มตอกเป็นการนำเสาเข็มลงไปในดินด้วยการใช้น้ำหนักตอกลงบนหัวเข็ม เสาเข็มนั้นจัดเป็นส่วนสำคัญที่เปรียบเสมือนรากฐานของบ้านเสาเข็มชนิดนี้เสาเข็มที่ตอกลงไปจะเข้าไปแทนที่ดินทำให้มีการเลื่อนและเคลื่อนตัวของชั้นดิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแนวราบการใช้เสาเข็มชนิดนี้จึงเหมาะกับการก่อสร้างที่มี พื้นที่กว้างขวางห่างไกลจากอาคารข้างเคียง เสาเข็มตอกส่วนใหญ่นิยมใช้เสาเข็มคอนกรีตหล่อสำเร็จซึ่งมีด้วยกัน  2  ชนิด คือเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก และ เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงเสาเข็มประเภทนี้มีด้วยกันหลายแบบ ให้เลือกใช้เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงเพราะมีข้อดีกว่าเสาเข็มคอนกรีต เสริมเหล็กตรงที่สามารถทำให้ยาวกว่าโดยมีหน้าตัดเล็กกว่าได้ทำให้ผลกระทบจาก การตอกเสาเข็มต่ออาคารบ้านเรือนในบริเวณใกล้เคียงโดยรอบลดน้อยลง เสาเข็มตอกประเภทสุดท้ายได้แก่ เสาเข็มเหล็ก ที่ใช้ส่วนใหญ่มักจะเป็นเสาเข็มเหล็ก รูป ตัว H เพราะสามารถทำการตอกลงดินได้ง่าย และรับน้ำหนักบรรทุกได้ดีครับแต่เสาเข็มเหล็กค่อนข้างจะมีราคาแพงจึงมักจะ ใช้ในกรณีของการซ่อมอันมีสาเหตุจากการทรุดร้าวของอาคาร

1.2 เสาเข็มกลมกลวง เสาเข็มที่สามารถรับแรงได้มากกว่าเสาเข็มตอก ผลิตโดย การปั่นหมุนคอนกรีต ให้เสาเข็มออกมา กลมและกลวง เวลาติดตั้ง ส่วนใหญ่ จะขุดเป็นหลุมก่อน แล้วกดเสาเข็มลงไป พอถึงระดับ ที่ต้องการ จึงจะเริ่มตอก ทำให้มีส่วนของเสาเข็ม ไปแทนที่ดินน้อยลง


2.เสาเข็มเจาะ เสาเข็มเจาะนั้นใช้งานกันมากในบริเวณที่มีพื้นที่จำกัด เช่นบริเวณที่มีการก่อสร้างอยู่ติดกับอาคารข้างเคียง เพราะข้อดีของเสาเข็มเจาะ คือสร้างความกระทบกระเทือนต่ออาคารใกล้เคียงน้อยแต่ก็มีราคาแพงกว่าเสาเข็ม ตอกอยู่พอสมควรหลักการของเสาเข็มเจาะนั้นจะใช้วิธีเจาะเอาดินออกมาจนถึง ระดับที่ต้องการโดยใช้ปลอกเหล็กป้องกันดินพังแล้วจึงใส่เหล็กเสริมลงไปและเท คอนกรีตจนเต็มหลุมเจาะ

2.1 เสาเข็มเจาะแบบแห้ง นิยมใช้กันทั่วไปในงานก่อสร้าง เช่นบ้านพักอาศัยทั่วไปเพราะเป็นระบบที่ง่ายไม่ต้องใช้เครื่องมือมากเสาเข็ม เจาะประเภทนี้มีหน้าตัดเป็นวงกลม เส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 60 เซนติเมตรสำหรับอาคารบ้านเรือนโดยทั่วไปนิยมใช้เข็มเจาะเส้นผ่าศูนย์กลาง 35 เซนติเมตร และมีความยาว ประมาณ 20 – 30 เมตร เป็นเสาเข็มเจาะขนาดเล็ก ส่วนใหญ่จะลึกไม่เกิน 20 เมตร รับน้ำหนักต่อต้น ได้ไม่เกิน 120 ตัน วิธีการคือเจาะดินลงไป (แบบแห้ง ๆ ) แล้วก็หย่อนเหล็ก เทคอนกรีต ลงไปในหลุม... ราคาจะแพงกว่าระบบเข็มตอก แต่เกิดมลภาวะน้อยกว่ามาก ทั้งเรื่องการ เคลื่อนตัวของดิน ความสั่นสะเทือน ฝุ่นละออง จึงเป็นที่นิยมใช้ ในที่ที่มีคนอยู่หนาแน่น

2.2 เสาเข็มเจาะแบบเปียก จะเหมาะกับงานก่อสร้างที่มีขนาดใหญ่ใช้เครื่องมือขนาดใหญ่ ทำเหมือนเสาเข็มเจาะแห้ง แต่เวลาขุดดินจะขุดลึก ๆ แล้วใส่สารเคมีลงไป เคลือบผิวหลุมดิน ที่เจาะ ทำหน้าที่เป็นตัวยึดประสานดินและดันดินไม่ให้พังทลายลงเวลาเจาะลึก ๆ (ซึ่งสามารถเจาะได้ลึกถึงกว่า 70 เมตร) รับน้ำหนักได้มากและเกิดมลภาวะน้อย ราคาแพง ส่วนการเลือก ว่าจะใช้เข็มแบบไหนดีนั้น ต้องตั้งข้อสังเกตุ ปัญหาก่อน แล้วเปรียบเทียบ ความจำเป็น

2.3 เสาเข็มเจาะแบบไมโคร ไพล์ (Micro pile) เป็นเสาเข็มเจาะขนาดเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 25 เซนติเมตรเสาเข็มขนิดนี้แม้จะมีขนาดเล็กแต่ก็มักจะมีราคาแพงเนื่องจากใช้ เทคนิคที่พิเศษกว่าแบบอื่น ๆ ใช้มากในงานซ่อมแซมอาคาร หรือต่อเติมบริเวณที่มีพื้นที่ในการทำงานน้อย ๆ เสาเข็มเจาะแบบพิเศษจะคล้าย ๆกับเสาเข็มเจาะระบบเปียกแต่จะมีหน้าตัด รูปแบบต่าง ๆ แตกต่างกันออกไป เช่นหน้าตัดรูปตัว H รูปตัว T หรือเป็นรูปเครื่องหมายบวกทำให้เสาเข็มชนิดนี้สามารถรับน้ำหนักได้มากและมี ความคงทนด้วย





สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่

คุณ ศานติ 081-859-4599




ห้างหุ้นส่วนจำกัด ร่มเกล้าคอนกรีตอัดแรง

55 ถนนร่มเกล้า แขวงคลองสามประเวศ เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520





โทร. 02-907-6001-4 
โทร. 02-543-9423, 02-543-9348
E-mail: sarnti88@hotmail.com
Website: http://www.เสาเข็ม.net
Website: http://www.xn--22c6dza6a6dc4c.net









Keyword:          เสาเข็ม          เสาเข็มตอก          เสาเข็มเจาะ          เสาเข็มคอนกรีตอัดแรง         รับตอกเสาเข็ม

panalee

ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้

panalee

ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้

panalee

ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้

panalee

ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้

bongkotmas

ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้

matusorn

ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้

panalee

ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้

bongkotmas

ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้

bongkotmas

ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้

panalee

ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้

thapanat009

ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้

panalee

ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้

yotsaworn

ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้

panalee

ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้

panalee

ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้

matusorn

ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้

panalee

ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้

bongkotmas

ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้

bongkotmas

ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้

matusorn

 อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้

panalee

ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้