ข่าว:

ทดลองใช้งานบอร์ดตะลุง ที่อยู่ในขั้นตอนการกู้คืนข้อมูล เบื้องต้นมีแต่กระทู้ (ข้อความ) กำลังกู้รูปภาพ ไฟล์แนบต่าง ๆ คาดว่าจะทยอยสมบูรณ์ภายในไม่ช้า

Main Menu

แนวคิดการท่องเที่ยวโดยชุมชน

เริ่มโดย Giadaexp, 17:33 น. 04 พ.ค 63

Giadaexp


การท่องเที่ขวโดยชุมชน ถือการท่องเที่ยวที่คำนึงถึงความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม สังคม และ วัฒนธรรม กำหนดทิศทางโดยชุมชน จัดการโดชุมชน พื่อชุมชนและชุมชนมืบกบาทเป็นเจ้าของ มี สิทธิในการจัดการดูแลพื่อให้กิดการเรีขนรู้แก่ผู้มาขื่อนสินธุ์ สโรบล(24) กล่าวว่า การท่องเที่ขว โดยชุมชน คือ ทางเลือกในการจัดการท่องเที่ยวที่ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทางการ ท่องเที่ยวบนฐานกวามคิดที่ว่า ชาวบนทุกกนเป็นเจ้ของทรัพยากร และเป็นผู้มีส่วนได้เสียจากการ ท่องเที่ขว โดขการนำเอาทรัพขากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นดนต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิตและวิถีการผลิตของชุมชนมาใช้เป็นต้นทุนหรือปัจัยในการจัดการ ท่องเที่ขวอย่างเหมาะสม รวมทั้งมีการพัฒนาศักยภาพของคนในชุมขนให้มีความรู้ กวามสามารถใน การดำเนินงาน ตั้งแต่การตัดสินใจ การวางแผน การคำนินงาน การสรุปบทเรีขน โคขเน้นให้เกิค กวามยั่งยืนสูคนรุ่นลูกหลานและเกิดประโขชน์ต่อทั้องถิ่น ตลอดงนคำนึงถึงความสามารถในการ รองรับของธรรมชาติเป็นสำคัญประเภทของการท่องเที่ยวโดยชุมชน หากพิจารณาทรัพยากรการท่องเที่ยวในท้องถิ่นแล้ว สามารถแยกออกเป็นประเภทต่าง ๆ ได้7 ประเภทคือ
1. แหล่งธรรมชาติที่มีความสวยงาม โดดเด่น เป็นเอกลักยณ์ของท้องถิ่นเช่น ป่า เขาน้ำตก ถ้ำ ทะเล
2. แหล่งโบราณคดี/ แหล่งประวัติศาสตร์/ ศาสนสถานที่สวยงาม
3. พิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน
4. งานบุญพื้นบ้าน งานประพณีพื้นเมืองในรอบปี(12 เดือน)
5. ภูมิปัญญาพื้นบ้าน วิถีชีวิตพื้นบ้น และการประกอบอาชีพหลักในชุมชน
6. ไร่นา สวนเกษตรต่างๆ และฟาร์มเลี้ยงสัตว์ต่างๆ
7. บุคลากรในท้องถิ่นที่มีความสามารถทำงานในธุรกิจท่องเที่วด้นบริการอข่างมีคุณภาพ ในแต่ละสาขา เช่น บริการรถนำเที่ยว เรือนำเที่ยว บริการในร้นอาหาร และบริการนำเที่ยว (มัคคุเทศก์ท้องถิ่น หรือ วิทยากรในทั้องถิ่น) เป็นต้น ดังนั้น หากนำทรัพขากรการท่องเที่ยวใน ท้องถิ่นมาจัดรูปแบบการท่องเที่วก็เข้หลักการการท่องเที่ขวชมวิถีชีวิตชนบทแล้วสามารถ จัดรูปแบบการท่องเที่ยวหลากหลายทั้งการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Eco-tourism) การท่องเที่ยวเชิงเกษตร (Agriculture-tourism) การท่องเที่ยวเชิงธรณีวิทยา (Geo-tourism) การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ (Historical-tourism) และการท่องเที่ยวชมงานวัฒนธรรมและประเพณี (Cultural &Traditional tourism) เป็นต้น ซึ่งรูปแบบของการท่องเที่ยวแต่ละประเภทยังสามารถจัดกิจกรรมการท่องเที่ยว (Tourism activities) ได้หลายหลากเช่นกันได้แก่
สนับสนุนบทความโดย 918kiss
การท่องเที่ยวเดินป่าชมและศึกษาพรรณไม้สมุนไพร/ การดู นกดูแมลง/ การพายแคนู และคยักค์ การปืนเขา การขี่จักรยานท่องเที่ชว/ การขี่น้ำ ขี่ควาย การฝึก ช้าง/ การเล่นเรือใบ/ การเล่นบอลลูน/ การล่องแก่งล่องเรือยาง/ การเล่นเจ็ตสกีและสกีน้ำการคำน้ำ การเล่นกอล์ฟ การวาดภาพและถ่ายภาพ การเรียนทำอาหาร เรียนศิลปะการแสคงสาขาต่างๆ/ การ นวดแผนไทย/ การเรียนและฝึกสมาธิ เป็นต้น ทั้งนี้การจัดการท่องที่ยวในชุมชนควรต้องกำพึงถึงการจัดการสิ่งแวคล้อมควบคู่ไปด้วย การ จัดการสิ่งแวดล้อม สามารถแบ่งได้ป็น 3 ลักษณะดังนี้
1. การใช้ทรัพขากรอย่างยั่งยื่น การใช้ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมแบบยั่งขึ้นซึ่งต่างมีหลักการและ วิธีการเฉพาะตัวเองเช่น หิน-แร่ น้ำอากาศดิน ป่าไม้ สัตว์ป่า เมืองเกาะ ขลๆ ผู้จัดการต้องใช้ เทคในโลขี่ที่มีประสิทธิภาพ และใช้ทรัพยากรที่ทดแทนได้เถพาะส่วนที่พิ่มพูน ทรัพขากรที่ใช้แล้ว หมดไปต้องเกิดของเสีขและมลพิน้อขที่สุด และต้องควบมมิให้ทรัพขากรที่ใช้แล้วไม่หมคสิ้นให้ สะอาดตลอดเวลามีมาตรฐานการจัดการสิ่งแวคล้อม
2.การกำจัด การบำบัดและฟื้นฟูของเสีขและมลพิษการจัดการสิ่งแวดล้อมอีกลักษณะหนึ่ง คือ การกำจัด การบำบัด และการฟื้นฟูของสียและมลพิษ หมายถึง การกระทำการใดๆ ก็ตามที่สามารถขจัดของเสีขและมลพิษให้หมคไปหรือเสื่อมสภาพไปหรือหมคฤทธิ์ เช่น การกำจัดขยะ(ขยะชุมชน ขยะติดเชื้อและกากสารพิษอันตราย) การบำบัดน้ำสียและการฟื้นฟูแหล่งเสื่อมโทรมให้ ฟื้นคืนสภาพปกติ กล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า การขจัดของเสียและมลพิษในระบบสิ่งแวดล้อมต้องหมค สิ้นไปโดขเข้สู่ภาวะปกติแล้ว สามารถสร้งภาวะปกติของโครงสร้งและบทบาทหน้ที่ของระบบ ให้ปกติเละสุดทยสร้งความสมคุลในระบบสิ่งแวคล้อมให้ปรากฏต่อไป
3.การควบคุมกิจกรรมกิจกรรมที่เกิดขึ้นในระบบสิ่งแวดล้อม ทั้งในและนอกระบบการ จัดการอาจทำลายโครงสร้งหรือทรัพยากรภายในระบบ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ี ของระบบสิ่งเวดล้อม