ข่าว:

ทดลองใช้งานบอร์ดตะลุง ที่อยู่ในขั้นตอนการกู้คืนข้อมูล เบื้องต้นมีแต่กระทู้ (ข้อความ) กำลังกู้รูปภาพ ไฟล์แนบต่าง ๆ คาดว่าจะทยอยสมบูรณ์ภายในไม่ช้า

Main Menu

“คลั่งรัก” อาการของคนตกหลุมรักอย่างถอนตัวไม่ขึ้น ผิดปกติหรือไม่?

เริ่มโดย Manobleasing92, 19:08 น. 12 พ.ย 63

Manobleasing92

"คลั่งรัก" อาการของคนตกหลุมรักอย่างถอนตัวไม่ขึ้น ผิดปกติหรือไม่?อาการ "คลั่งรัก" ไม่ใช่แค่ศัพท์วัยรุ่นที่เอาไว้แซวคนที่แสดงออกถึงความรู้สึกรักใครสักคนมากๆ กันเล่นๆ เพราะเป็นอาการที่มีอยู่จริงในหลักจิตวิทยา และเริ่มมีการพูดถึงคำนี้อย่างจริงจังเมื่อซีรีส์ แปลรักฉันด้วยใจเธอ มีฉากที่ตัวละครอาจกำลังมีอาการคลั่งรัก อาการนี้เป็นอย่างไร แตกต่างจากอาการตกหลุมรักปกติมากน้อยแค่ไหน และเป็นอันตรายหรือไม่?อาการคลั่งรัก คืออะไร?อาการคลั่งรัก (Limerence) จีคลับ เป็นคำที่ถูกคิดขึ้นมาโดย Dr. Dorothy Tennov gclub นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน เจ้าของหนังสือ Love and Limerence – the Experience of Being in Love pussy888 ในปี 1979 โดยอธิบายความหมายของคำว่า Limerence 918kiss หรืออาการคลั่งรักว่า เป็นความรู้สึกรักที่มีระดับของความรู้สึกมากกว่าแค่ชอบ หรือแค่หลงไหลตามปกติอาการของคนคลั่งรักอาการของคนที่มีอาการคลั่งรัก จะมีระดับของความรักความชอบที่มากอย่างชัดเจน เกินการควบคุมของตัวเอง ไม่สามารถหยุดตัวเองให้ลืม ทำใจ หยุดคิด หยุดนึกถึงคนที่ชอบได้ มีความคิดหมกมุ่นที่เกี่ยวกับคนที่เรารักตลอดเวลา และอยากให้คนที่เรารักหันมารักเราตอบ จนเลยเถิดไปถึงความรู้สึกที่อยากครอบครองเขา เขาคนนั้นเหมาะสมกับเราเพียงผู้เดียวDr. Dorothy Tennov nxcasino มองว่าระดับความรู้สึกรัก หรือชอบพอใครสักคน สามารถแบ่งออกมาได้หลากหลายเฉดสีเป็นสเปกตรัม ตั้งแต่สีอ่อนไปจนถึงสีเข้ม ในส่วนของอาการคลั่งรักเป็นส่วนที่มีสีเข้มที่สุดในทางจิตวิทยายังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ว่า อาการคลั่งรัก เป็นอาการทางจิตจริงๆ หรือเป็นเพียงนิสัยใจคอเฉพาะบุคคลเท่านั้น แต่จากการทดลองพบว่า คนที่มีอาการคลั่งรัก มีความเป็นไปได้สูงที่จะผลิตฮอร์โมนลักษณะคล้ายกับฮอร์โมนที่หลั่งออกมาหลังเสพยา ทำให้เราเสพติดการพบหน้า พูดคุย มีปฏิสัมพันธ์กับเขาคนนั้น หรือการได้แสดงออกว่าชื่นชอบคนๆ นั้นมากเป็นพิเศษ จนไม่สามารถหักห้ามใจตัวเองได้ จนอาจมีอารมณ์ที่รุนแรง และควบคุมการกระทำของตัวเองไม่ได้ทางด้าน Helen Fisher นักมานุษยวิทยาชาวอเมริกัน ระบุว่า สมองของกลุ่มคนที่มีอาการคลั่งรักยังทำงานในลักษณะคล้ายกันกับผู้ที่เสพยาโคเคน ระหว่างที่กำลังมีอารมณ์ลุ่มหลงในความรัก ระดับฮอร์โมนเซโรโทนินจะลดลงมาอยู่ในระดับต่ำจนอาจอยู่ในระดับที่ใกล้เคียงกับผู้ที่มีอาการย้ำคิดย้ำทำ (OCD) แต่ระดับฮอร์โมนโดพามีนที่สัมพันธ์กับความร่าเริงและตื่นตัวกลับพุ่งสูงขึ้น จึงทำให้ผู้ที่มีอาการคลั่งรักมีลักษณะท่าทาง และพฤติกรรมที่ดูตื่นตัว ย้ำคิดย้ำทำ และยังมีอารมณ์ค่อนข้างแปรปรสนง่ายกว่าคนทั่วไป